งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เพิ่มพลังการเรียนรู้ให้คนรุ่น ใหม่ บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ICTEd 2007 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เพิ่มพลังการเรียนรู้ให้คนรุ่น ใหม่ บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ICTEd 2007 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เพิ่มพลังการเรียนรู้ให้คนรุ่น ใหม่ บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ICTEd 2007 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2550

2 โลกของคนรุ่นใหม่ เกิดในยุคไอซี ที

3 Short-range Frequencies Long-range Frequencies 2005 is the Year of the Personal Learning Device: People are Surrounded by “Learning-ware, Everywhere” EmbeddedLearning 2.5-3G & 4G Satellite Ultra Wideband (UWB) Bluetooth NFC NFCRFID ZigBee 802.xxWiMAX Handheld PCs Smart Phones Tablets Ultra-thin Notebooks “Connected” PMDs GPS Devices Smart Tag Readers Smart Objects

4 http://ltxserver.unitec.ac.nz/mediawiki/i ndex.php/WirelessPalms

5 Interactive TV to t-Learning

6 เทคโนโลยี “New Technologies can help transform education - but only if they are used to support new methods of teaching and learning. If technology is simply used to automate traditional methods of teaching and learning then it will have very little impact on education.” Professor Chris Dede Graduate School of Education George Mason University http://www.sofweb.vic.edu.au/lt/pguide/vision/vision.htm

7 การเลือกซอฟต์แวร์มาใช้ใน การเรียนการสอน

8 ผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนกับเนื้อหาสาระ ผู้เรียนกับผู้อื่น ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับผู้เชี่ยวชาญ ผู้เรียนกับบริบท ระดับของการมีปฏิสัมพันธ์ในการบูรณาการเทคโนโลยีกับการเรียนรู้ การมี ปฏิสัมพันธ์ สร้างพลัง การเรียนรู้

9 LMS ช่วยบูรณาการเทคโนโลยี กับการเรียนรู้

10 Learning Management System (LMS) ผู้สอน สร้างวิชาเรียน สร้าง เนื้อหา สร้างกิจกรรมการเรียน เช่น อภิปราย ส่ง การบ้าน วาง เอกสาร ประกอบการเรียน วางสื่อการเรียนการ สอน สร้างแบบทดสอบ ประกาศข่าว ผู้เรียน เข้ามาดูรายละเอียด ของวิชา ทำกิจกรรมที่มีอยู่ใน รายวิชา เช่น อภิปราย ส่งการบ้าน อ่านเนื้อหา เข้าถึงสื่อการเรียนการ สอน ทำแบบทดสอบ ดูประกาศต่าง ๆ ระบบการจัดการเรียนรู้

11 LAMS สร้างกิจกรรมการ เรียนรู้ร่วมกัน

12 สร้างระดับการมี ปฏิสัมพันธ์

13 การคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้

14 เพิ่มพลังการเรียนรู้ด้วย PBL เมื่อ Dewey นำ PBL มาใช้ทำให้ เกิดการยอมรับว่า 1) ในการเรียนรู้นั้น นักเรียนต้อง ตื่นตัวและเป็นผู้ประดิษฐ์หรือผลิต บางสิ่งบางอย่างด้วยความตื่นตัว 2) นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ที่จะคิด และแก้ปัญหา 3) นักเรียนทุกคนจะต้องเตรียมตนเอง สำหรับชีวิตในสังคมจึงต้องเรียนรู้ที่ จะทำงานร่วมกับผู้อื่น

15 พลังการเรียนรู้จากการทำ โครงงานมัลติมีเดีย นักเรียนลงมือสร้างชิ้นงานไปพร้อมกับ การเรียนรู้วิธีการสร้าง การสร้างนำสู่กระบวนการคิดขั้นสูง ช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในความรู้ นั้นเพิ่มมากขึ้นจากการมีโอกาสได้สอน หรืออธิบายให้กับเพื่อน วิธีการนี้จะทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ทั้งวิธีการและเนื้อหา

16 โครงงานมัลติมีเดียกับชีวิตจริง เป็นนักเขียนเรื่อง แล้วจัดทำเป็นวารสาร อิเล็กทรอนิกส์ในเว็บ เป็นนักข่าวเขียนข่าว ประกอบเรื่องที่ไปศึกษาโดย การสัมภาษณ์ และถ่ายภาพ เป็นผู้สร้างสื่อ ถ่ายทอดเนื้อหาให้เพื่อนนักเรียนหรือ รุ่นน้อง เป็นผู้พัฒนา บทเรียนมัลติมีเดีย เป็นนักออกแบบเว็บ ที่รวบรวมจัดหาข้อมูลที่ เหมาะสมมาสร้างเป็นเว็บเพจ เป็นนักวิจัย จัดทำเว็บเพจจากเนื้อหาที่ได้ ทำการศึกษาทดลองด้วยตนเอง เป็นนักประชาสัมพันธ์ จัดทำเว็บเพจเชิญชวน หรือ แจ้งข่าวสาร เป็นนักจัดรายการวิทยุ จัดทำเป็นรายการวิทยุ อิเล็กทรอนิกส์

17 โครงงานมัลติมีเดียกับชีวิตจริง เป็นนักเล่านิทาน จัดทำเป็นเรื่องเล่ามีเสียง ประกอบภาพการ์ตูน เป็นนักเขียนการ์ตูน จัดทำเป็นหนังสือ การ์ตูนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นนักแต่งเรื่องตามจินตภาพ เช่นการผจญ ภัยในดินแดนมหัศจรรย์ เป็นนักสร้างภาพยนตร์ จัดทำเป็นวีดิโอ ดิจิทัล เป็นนักสะสม จัดรวบรวมแหล่งสารสนเทศ เป็นนักจัดเกมโชว์ จัดเกมเรียนรู้ให้ผู้เรียนคน อื่นเล่น เป็นนักจัดรายการทีวีบนเว็บ ให้สาระความรู้ แก่ผู้ชม

18 การสร้างชิ้นงานที่เพิ่มพลังการ เรียนรู้ การสร้างผลิตผล / ชิ้นงาน บทบา ท เน้นผลผลิตเน้นกระบวนการ เรียนรู้ ครูเป็นผู้ถ่ายทอดการ ใช้เครื่องมือให้มี ทักษะเพื่อการ สร้างชิ้นงาน เป็นผู้ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือและ ถ่ายทอดเมื่อ นักเรียนต้องการ นักเรีย น เป็นผู้ทำตาม แบบอย่าง เป็นผู้คิดออกแบบ ลงมือปฏิบัติ

19 เพิ่มพลังการเรียนรู้ด้วย เทคโนโลยี

20 เพิ่มพลังการ เรียนรู้ด้วยการจัด ที่นั่งชั้นเรียน พลังการเรียนรู้ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การร่วมมือ และการมีปฏิสัมพันธ์

21 http://www.geography.utoledo.edu/eod/Learning%20Pyramid.jpg

22 Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge Evaluate Create Analyze Apply Understand Remember Bloom et al 1956Anderson & Krathwohl et al 2000 Bloom’s Taxonomy Revision http://projects.coe.uga.edu/epltt/index.php?title=Bloom%27s_Taxonomy#Revised_Bloom.27s_Taxonomy_.28RBT.29

23 พอดีเสริมแรงไม่พอดี ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง ไชโย สิ่งใหม่ ทฤษฎีการเรียนรู้ -- Constructivism ทางตัน

24 Vygotsky – Zone of Proximal Development

25 Lila M. Smith เทคโนโลยีเพิ่มพลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

26 เพิ่มพลังการเรียนรู้ด้วยการ ประเมินทางเลือก กำหนดเกณฑ์แต่ละด้าน (Scoring Rubric) แฟ้มสะสมงาน (Port Folio) บันทึกอนุทิน (Journal) โครงงาน / ชิ้นงาน (project) การประเมินตนเอง (Self- assessment)

27 The Animal School http://www.youtube.com/watch?v=wVxT4XO0ZuY

28 Q & A


ดาวน์โหลด ppt เพิ่มพลังการเรียนรู้ให้คนรุ่น ใหม่ บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ICTEd 2007 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google