ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJàew Sriwarunyu ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
กรมชลประทาน โดย นายมนัส กำเนิดมณี สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 22 ธันวาคม 2551
2
หัวข้อการบรรยาย 1 หลักการและเหตุผล 2
การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับผลผลิต 3 แนวคิดการคำนวณต้นทุนผลผลิต 4 ประโยชน์การคำนวณต้นทุนผลผลิต 5 12 ขั้นตอนการคำนวณต้นทุนผลผลิต 6 การบ้าน
3
1 หลักการและเหตุผล
4
พรฏ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (พ.ศ. 2546)
หลักการ และ เหตุผล พรฏ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (พ.ศ. 2546) ระเบียบ ว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 มาตรา 21 ข้อ 7 วรรคสอง “กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทตามหลักเณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด และรายงานผลการคำนวณค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนัก ก.พ.ร. ทราบ” “กำหนดให้หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ คำนวณค่าใช้จ่ายตามงบรายจ่ายของแต่ละผลผลิตหรือโครงการเพื่อใช้ในการจัดทำค่าใช้จ่ายต่อหน่วยผลผลิต หรือโครงการ สำหรับการจัดทำงบประมาณรายจ่ายในปีงบประมาณต่อไป”
5
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์
(Strategic Performance Based Budgeting: SPBB) ผลผลิตหรือบริการจะมีจำนวน เท่าไหร่ จะก่อให้เกิดผลลัพธ์ อย่างไร ผลผลิต / บริการ (Output) งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร ในแต่ละปี ผลลัพธ์ (Outcome)
6
2 ความเชื่อมโยง ระหว่าง ยุทธศาสตร์กับผลผลิต
7
คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และผลผลิต รัฐธรรมนูญ คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน อิสระตาม รัฐธรรมนูญ แผนกลยุทธ์ ของ หน่วยงานย่อย แผนยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน ฝ่ายนิติบัญญัติ แผนกลยุทธ์ ของ หน่วยงานย่อย แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง แผนยุทธศาสตร์ ของ กรม แผนยุทธศาสตร์ ของรัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ องค์มหาชน ผลผลิต-ผลลัพธ์ กิจกรรม ผลผลิต-ผลลัพธ์ กิจกรรม ผลผลิต-ผลลัพธ์ กิจกรรม ผลผลิต-ผลลัพธ์ กิจกรรม
8
เสริมสร้างคุณภาพชีวิต
“น้ำอุดมสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกจิมั่นคง” วิสัยทัศน์ (Vision) พัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้สมดุล บริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา และบริหารจัดการน้ำทุกระดับอย่างบูรณาการ ดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ สนับสนุนการรักษาพื้นที่ทำการเกษตรในเขต ชลประทาน เพื่อการผลิต ให้อยู่ในจำนวนที่ เหมาะสม พันธกิจ (Mission)
9
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน
วิสัยทัศน์ “น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาแหล่งน้ำ การบริหารจัดการน้ำ การป้องกันและบรรเทาภัย อัน เกิดจากน้ำ การรักษาพื้นที่ทำการเกษตร ใน เขตชลประทาน 2. ทุกภาคส่วนได้รับน้ำอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม 4. มีจำนวนพื้นที่ทำการเกษตรในเขตชลประทานที่เหมาะสม ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 1. มีปริมาณน้ำเก็บกักและพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 3. ความสูญเสียที่ลดลง อันเนื่องจากภัยอันเกิดจากน้ำ 6. ผู้ใช้น้ำได้รับความพึงพอใจจากการบริหารน้ำ 5. อาคารชลประทานอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 7. คุณภาพน้ำได้เกณฑ์มาตรฐาน การให้บริการ คุณภาพ 8. การก่อสร้างซ่อมแซมและปรับปรุง แล้วเสร็จตามแผนงาน 9. การเตรียมความพร้อมก่อนการก่อสร้างเป็นไปตามแผนงาน 10. ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 11. มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง 12. มีการวางแผนและการดำเนินการบริหารจัดการน้ำที่ดี ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ 13. มีผลการศึกษา วิจัยและพัฒนาสนับสนุนการดำเนินงาน 14. มีระเบียบและกฎหมายที่ทันสมัย 15. ระบบการบริหารงานมีประสิทธิภาพ 16. บุคลากรมีสมรรถนะและขวัญกำลังใจในการทำงาน 17. มีระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม การพัฒนา องค์กร
10
การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และผลผลิต
11
ชป390/1
12
3 แนวคิด การคำนวณ ต้นทุนผลผลิต
13
แนวคิดการคำนวณต้นทุนผลผลิต
กิจกรรมย่อย ศูนย์ ต้นทุน หลัก ต้นทุน กิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อย ผลผลิต หลัก กิจกรรมย่อย กิจกรรม หลัก กิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อย ผลผลิต หลัก กิจกรรม หลัก ศูนย์ ต้นทุน สนับสนุน กิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย
14
การคำนวณต้นทุนกิจกรรม Activity Based Costion / ABC
หลักการคำนวณต้นทุนกิจกรรม Activity Base Costing (ABC) ค่าใช้จ่ายของกิจกรรม (Activity Costing) ผลการปฏิบัติงาน (Performance Measure) วิเคราะห์กิจกรรม (Activity Analysis) การคำนวณต้นทุนกิจกรรม Activity Based Costion / ABC พจนานุกรมกิจกรรม (Activity Dic.) ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายเจาะจง ค่าใช้จ่ายปันส่วน จำนวนผลผลิตของกิจกรรม ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) จำนวนผลผลิต
15
4 ประโยชน์ การคำนวณ ต้นทุนผลผลิต
16
ประโยชน์การคำนวณต้นทุนผลผลิต
1 เปรียบเทียบต้นทุนระหว่างหน่วยงาน ที่มีกิจกรรมย่อยเหมือนกัน 2 เปรียบเทียบต้นทุนระหว่างปี ของหน่วยงาน (เมื่อคำนวณหลายปี) 3 คำนวณค่าบริการ / คำนวณราคากลาง
17
5 12 ขั้นตอน การคำนวณ ต้นทุนผลผลิต
18
12 ขั้นตอน การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตหลัก/โครงการ และหน่วยนับของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมหลักและหน่วยนับ ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยและหน่วยนับ ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยและหน่วยนับ ขั้นตอนที่ 5 ระบุศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน ขั้นตอนที่ 6 กำหนดเป้าหมายผลผลิตและกิจกรรม ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน ขั้นตอนที่ 8 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย ขั้นตอนที่ 9 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย ขั้นตอนที่ 10 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมหลัก ขั้นตอนที่ 11 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตหลัก ขั้นตอนที่ 12 วิเคราะห์และประเมินผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต
19
ขั้นตอนที่ 1 พิจารณา!!! สอดคล้อง สอดคล้อง ขั้นตอนที่ 1
วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตหลัก/โครงการ และหน่วยนับของหน่วยงาน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ให้เกิดขึ้น สอดคล้อง ผลลัพธ์ที่ รัฐบาลคาดหวัง กับความต้องการของประชาชน พิจารณา!!! ก่อให้เกิดผลผลิตอะไร และ จัดลำดับความสำคัญของผลผลิต ระบบงานที่ดำเนินงาน ในปัจจุบัน สอดคล้อง ภารกิจ วัตถุประสงค์ ของแผนงาน / โครงการ รัฐบาลมอบหมาย
20
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1
วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตหลัก/โครงการ และหน่วยนับของหน่วยงาน 4 ผลผลิต หลัก 9 โครงการ
21
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมหลัก กิจกรรมหลักจะแสดงถึง กระบวนการปฏิบัติงาน ที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน โดยเป็นการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับภารกิจ/พันธกิจของกรมชลประทานที่มีการใช้ทรัพยากรและก่อให้เกิดปริมาณงานหรือบริการที่มีคุณค่า มีความสัมพันธ์กับผลผลิตหลักโดยมีนัยสำคัญ
22
ขั้นตอนที่ 2 องค์ประกอบของกิจกรรมหลัก ภารกิจหลักๆ ของหน่วยงาน
วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมหลัก องค์ประกอบของกิจกรรมหลัก ภารกิจหลักๆ ของหน่วยงาน ความสัมพันธ์กับผลผลิตหลัก เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดทำนำส่งผลผลิตหลัก สามารถวัดได้ทั้งในเชิง ปริมาณ คุณภาพ ต้นทุน และเวลา ระบุในเอกสารงบประมาณประจำปี 19 กิจกรรมหลัก
23
ขั้นตอนที่ 3 ผลผลิตย่อย
วิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยและหน่วยนับ ผลผลิตย่อย คือ ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่กรมชลประทานทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเอง และเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้ นำไปสู่การวัดผลการดำเนินงานของหน่วยงาน และการประเมินประสิทิภาพการใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน 50 ผลผลิตย่อย
24
ขั้นตอนที่ 4 กิจกรรมย่อย การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย ใช้แบบฟอร์ม
วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยและหน่วยนับ การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย การกำหนดให้ละเอียดหรือหยายขึ้นกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ต้นทุน-ประโยชน์ คุ้มค่าหรือไม่ขึ้นกับความตั้งใจในการใช้ข้อมูลกิจกรรมย่อย การพัฒนากิจกรรมย่อย ต้องการข้อมูลกิจกรรมย่อยที่ละเอียด เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน แต่ละศูนย์ต้นทุนทำกิจกรรมย่อย 1 กิจกรรมย่อย หรือมากกว่า เพื่อที่จะสร้างผลผลิตย่อย ในช่วงเริ่มแรก ไม่ควรกำหนดกิจกรรมย่อยในศูนย์ต้นทุนเกินกว่าจำนวนฝ่ายหรือกลุ่มย่อย ภายใต้ศูนย์ต้นทุน การกำหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้กิจกรรมย่อย ตามกิจกรรมเดียวกับหน่วยงานภายนอก ให้กำหนดหน่วยนับสม่ำเสมอ กรณีกิจกรรมย่อย ไม่มีหน่วยงานภายนอก่ทำ กิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมของสำนัก/กอง หรือศูนย์ต้นทุน ซึ่งกำหนดเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อย และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อยระหว่างปีของสำนัก/กองเอง และเปรียบเทียบระหว่างสำนัก/ กองอื่นได้ นำไปสู่การวัดผลการดำเนินงานของสำนัก/กอง และการประเมินประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของสำนัก/กอง ใช้แบบฟอร์ม ตผ.ชป.01 และ02 185 กิจกรรมย่อย
25
ให้กำหนดเป็น สสช.01, สสช.02, สสช.03, เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยและหน่วยนับ (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.01) เช่น สำนักส่งเสริมฯ ให้กำหนดเป็น สสช.01, สสช.02, สสช.03, เป็นต้น กรอกข้อมูลหน่วยนับ และปริมาณ (การสามารถกรอกได้) รวมถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบงานในแต่ละกิจกรรม โดยจะต้องเขียนอธิบายความหมายและขอบเขตของการรับผิดชอบ หน้าที่ปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรม กรอกชื่อข้อมูลกิจกรรมย่อย และกิจกรรมสนับสนุน เช่น กิจกรรมของฝ่ายบริหารทั่วไป จะต้องมีระบุอยู่ในแต่ละกิจกรรมย่อย
26
ขั้นตอนที่ 4 แบบฟอร์ม ตผ.ชป.02 เป็นการแสดงความเชื่อมโยงระหว่าง
วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยและหน่วยนับ (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.02) แบบฟอร์ม ตผ.ชป.02 เป็นการแสดงความเชื่อมโยงระหว่าง กิจกรรมย่อยกับหน่วยงานรับผิดชอบภายใต้สำนัก/กอง เช่น สำนักส่งเสริมฯ ให้กำหนดเป็น สสช.01, สสช.02, สสช.03, เป็นต้น กรอกชื่อข้อมูลกิจกรรมย่อย กรอกข้อมูลหน่วยนับ ปริมาณ (การสามารถกรอกได้) และกาเครื่องหมายถูก (√) ลงในช่องของหน่วยงาน ที่มีส่วนในการสร้างกิจกรรมย่อยนั้นๆ
27
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 5 ระบุศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน
“ศูนย์ต้นทุนหลัก (Function Cost Center)” สำนัก/กอง ที่มีหน้าที่โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการสร้างผลผลิตของหน่วยงาน “ศูนย์ต้นทุนสนับสนุน (Support Cost Center)” สำนัก/กอง ที่มีหน้าที่ให้บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน ในการสร้างผลผลิต
28
ใช้ข้อมูลทีได้จากขั้นตอนที่ 4 (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.01)
ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 6 กำหนดเป้าหมายผลผลิตและกิจกรรม (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.03) ขั้นตอนดำเนินการ ตรวจสอบกิจกรรมของสำนัก/กอง ที่ได้กำหนดไว้ในพจนานุกรมกิจกรรม มีอะไรบ้าง กำหนดหน่วยนับของปริมาณงาน หรือเป้ามายผลผลิต/กิจกรรม ให้เหมือนกันทุกหน่วยงานทั้งองค์กร กำหนดเครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการจัดเก็บปริมาณงาน ใช้ข้อมูลทีได้จากขั้นตอนที่ 4 (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.01) การทำงานตามกิจกรรมย่อยใช้เวลามากกว่า 1 ปี ปริมาณงานให้ใช้ค่าร้อยละของปริมาณงานที่ทำในแต่ละปีงบประมาณ เช่นงานศึกษาความเหมาะสม งานออกแบบ งานก่อสร้าง ที่มีหน่วยนับเป็นรายงาน หรือโครงการ
29
ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน
(แบบฟอร์ม ตผ.ชป.04)
30
ขั้นตอนที่ 7 ขั้นตอนดำเนินการ
คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.04) ขั้นตอนดำเนินการ ดึงข้อมูลต้นทุนจากระบบ GFMIS ตามศูนย์ต้นทุนและแหล่งเงิน (โดย กองการเงินและบัญชี) พิจารณาต้นทุนที่เกี่ยวข้อง กับผลผลิตที่ได้ เพื่อตัดต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องออก ในระบบ GFMIS ต้นทุนทางตรงจะถูกบันทึก ดังนั้น เราจะทราบต้นทุนของแต่ละศูนย์ต้นทุน ต้นทุนทางอ้อมต้องอาศัยเกณฑ์การปันส่วน เพื่อระบุต้นทุนเข้าศูนย์ต้นทุน (เกณฑ์การปันส่วน ให้หน่วยงานกำหนดตามความเหมาะสมอย่างยุติธรรม โดยพิจารณาปัจจัยที่ทำให้ต้นทุนผันแปร) ต้นทุนรวมของแต่ละสำนัก/กอง กองการเงินและบัญชี จะจัดทำและส่งให้ทุกสำนัก/กอง หลังจากสิ้นปีงบประมาณ การปันส่วนต้นทุนทางอ้อมเข้าสู่ส่วนกลาง โดยกองการเงินและบัญชี ค่าดำเนินการรักษาความปลอดภัย ค่าดำเนินการจ้างเหมาทำความสะอาด ค่ากระแกไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าไปรษณีย์ ค่าบริการอินเตอร์เนต ฯลฯ
31
ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน
(แบบฟอร์ม ตผ.ชป.04)
32
ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน
(แบบฟอร์ม ตผ.ชป.04)
33
ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน
(แบบฟอร์ม ตผ.ชป.04) ใช้ตารางจำแนกประเภทค่าใช้จ่าย มาแยกประเภทของค่าใช้จ่ายของต้นทุนรวม (หน้า 59-60) ใช้ข้อมูลค่าใช้จ่าย จากระบบ GFMIS ที่ได้จากกองการเงินและบัญชี
34
ขั้นตอนที่ 8 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย ขั้นตอนที่ 8
(แบบฟอร์ม ตผ.ชป.05 และ ตผ.ชป.06)
35
ขั้นตอนที่ 8 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย ขั้นตอนที่ 8
(แบบฟอร์ม ตผ.ชป.05 และ ตผ.ชป.06) ใช้ข้อมูลผลรวมจากในแบบฟอร์ม ตผ.ชป.04 หลังจากจำแนกประเภทค่าใช้จ่ายแล้ว กระจายค่าใช้จ่ายแต่ละประเภทลงสู่แต่ละหน่วยงานต่างๆ ในสำนัก/กอง นั้นๆ ใส่ข้อมูลหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง นั้นๆ
36
ขั้นตอนที่ 8 แบบ ตผ.ชป.06 (1 ฟอร์มต่อ 1 ฝ่าย/ส่วน)
คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.05 และ ตผ.ชป.06) แบบ ตผ.ชป.06 (1 ฟอร์มต่อ 1 ฝ่าย/ส่วน) ใส่ข้อมูลหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง นั้นๆ จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.05 เกณฑ์การปันส่วนที่ได้กำหนด (รายละเอียดในบทที่ 5) หมายเหตุ : 1. ให้จัดทำแยกทุกส่วน/กลุ่มงาน/ฝ่าย/โครงการ แล้วรวมเป็นสำนัก/กอง 2. A0 = จำนวนงบประมาณที่ได้รับในส่วนของเงินเดือนและค่าจ้างประจำ ของส่วน/กลุ่มงาน/ฝ่าย/โครงการ (ได้จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.05) B1 = จำนวนปริมาณงานในกิจกรรมย่อยที่ xxx. ของส่วน/กลุ่มงาน/ฝ่าย/โครงการ (จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.02) C1 = เกณฑ์ในการปันส่วนงบประมาณในกิจกรรมที่ xxx.01 ของส่วน/กลุ่มงาน/ฝ่าย/โครงการ D1 = จำนวนเงินที่ได้รับการปันส่วนลงสู่กิจกรรมที่ xxx.01 ของส่วน/กลุ่มงาน/ฝ่าย/โครงการ = (C1/C)xA0 3. Column ที่ 10; N1 = D1+E1+F1+G1+H1+J1+L1+M1 4. Column ที่ 11; ต้นทุนต่อหน่วย (O1) = N1/B1
37
ขั้นตอนที่ 8
38
ขั้นตอนที่ 8
39
ขั้นตอนที่ 8
40
ขั้นตอนที่ 8
41
ขั้นตอนที่ 8
42
ขั้นตอนที่ 9 ขั้นตอนที่ 9
คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.07)
43
เกณฑ์การปันส่วนที่ได้กำหนด (รายละเอียดในบทที่ 5)
ขั้นตอนที่ 9 ขั้นตอนที่ 9 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.07) จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.01 จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.06 เกณฑ์การปันส่วนที่ได้กำหนด (รายละเอียดในบทที่ 5) จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.02
44
ขั้นตอนที่ 10 ขั้นตอนที่ 10
คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมหลัก (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.08)
45
ขั้นตอนที่ 10 ขั้นตอนที่ 10
คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมหลัก (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.08) จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.07 จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.07
46
ขั้นตอนที่ 11 ขั้นตอนที่ 11
คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตหลัก (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.09)
47
ขั้นตอนที่ 11 ขั้นตอนที่ 11
คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตหลัก (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.09) จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.08 จากแบบฟอร์ม ตผ.ชป.08
48
ขั้นตอนที่ 12 ขั้นตอนที่ 12 วิเคราะห์และประเมินผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.10) “การคำนวณต้นทุนผลผลิตจะไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย หากแต่ละสำนัก/กอง ไม่มีการวิเคราะห์และประเมินผลที่ได้ เพื่อการนำไปปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงาน”
49
การจัดทำกรอบงบประมาณ รายจ่ายระยะปานกลาง (MTEF) ประสิทธิภาพในการทำงาน
ขั้นตอนที่ 12 ขั้นตอนที่ 12 วิเคราะห์และประเมินผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต (แบบฟอร์ม ตผ.ชป.10) การจัดทำกรอบงบประมาณ รายจ่ายระยะปานกลาง (MTEF) ประสิทธิภาพในการทำงาน มีข้อเสนอต้นทุนผลผลิต ต้นทุนกิจกรรมหลัก ต้นทุนผลผลิตย่อย ที่สะท้อนประสิทธิภาพด้านการจัดการ เพื่อนำไปคูณเป้าหมายการดำเนินงานล่วงหน้า 3 ปี สำหรับกำหนดวงเงินอันจะนำไปสู่การจัดทำโครงการ และกิจกรรมตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบ้ติราชการ 4 ปี อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป เปรียบเทียบต้นทุนผลผลิต ที่จ่ายจริงกับที่ตั้งงบประมาณ กับผลผลิตที่ได้รับ การพัฒนา ต้นทุนองค์กร เปรียบเทียบต้นทุนผลผลิต ของกิจกรรมหลัก ผลผลิตย่อย และกิจกรรมย่อย เพื่อดูสาเหตุที่ไม่สะท้อนประสิทธิภาพที่ได้ เปรียบเทียบต้นทุนองค์กรกับต้นทุนเดิมในอดีต ข้อเสนอแนะการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน เปรียบเทียบต้นทุนของหน่วยงาน กับต้นทุนหน่วยงานอื่น มีข้อเสนอเพื่อความเพียงพอ และความเท่าเทียมด้านโอกาสที่มีข้อจำกัดอยู่
50
6 การบ้าน
51
ส่งกองการเงินและบัญชี ภายในวันที่ 9 มกราคม 2552
การบ้าน/ทุกสำนัก-กอง ส่งกองการเงินและบัญชี ภายในวันที่ 9 มกราคม 2552 ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยและหน่วยนับ ขั้นตอนที่ 6 กำหนดเป้าหมายผลผลิตและกิจกรรม ขั้นตอนที่ 7 คำนวณหาต้นทุนรวมของศูนย์ต้นทุนหลักและศูนย์ต้นทุนสนับสนุน ขั้นตอนที่ 8 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย ขั้นตอนที่ 9 คำนวณหาต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตย่อย ขั้นตอนที่ 12 วิเคราะห์และประเมินผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต
52
ส่งกองการเงินและบัญชี ภายในวันที่ 9 มกราคม 2552
การบ้าน/ทุกสำนัก-กอง ส่งกองการเงินและบัญชี ภายในวันที่ 9 มกราคม 2552
53
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.