ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
บทที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
2
โครงสร้างควบคุม (CONTROL STRUCTURE)
โครงสร้างแบบลำดับ (Sequence structure) โครงสร้างแบบเลือก (Selection structure) โครงสร้างแบบกรณี (case structure) โครงสร้างแบบซ้ำ ในขณะที่เงื่อนไขเป็นจริง (do while structure) โครงสร้างแบบทำซ้ำจนกระทั่ง เงื่อนไขเป็นจริง (do until structure)
3
โครงสร้างควบคุม คำสั่ง IF (IF statement) คำสั่ง CASE (Case statement)
คำสั่ง FOR (For statement) คำสั่ง REPEAT UNTIL (Repeat until statement) คำสั่ง WHILE DO (While do statement)
4
คำสั่งที่ทำหน้าที่เป็น INPUT
ตัวแปร ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เราจะรับมาถ้ามีข้อมูลหลายชุดก็จะต้องมีหลายตัวแปร ตัวแปรแต่ละตัวแปรจะคั่นด้วยเครื่องหมาย “,” เสมอ และการป้อนข้อมูลให้กับตัวแปรแต่ละตัวจะต้องคั่นด้วยการเว้นวรรคหรือกด ENTER READLN คำสั่งนี้จะทำหน้าที่นำข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร เหมือนคำสั่ง READ แต่แตกต่างกันตรงที่ READLN เมื่อรับข้อมูลเข้ามาจัดเก็บในตัวแปรแล้ว CURSOR จะขยับลงมาอีก 1 บรรทัด
5
คำสั่งที่ทำหน้าที่เป็น OUTPUT
WRITELN คำสั่งนี้จะทำหน้าที่นำข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลตัวอักษรที่อยู่ในรูปข้อความ (STRING) หรือข้อมูลชนิดต่างๆที่อยู่ในตัวแปร ออกมาแสดงผลทางจอภาพ เหมือนกับคำสั่ง WRITE แต่แตกต่างกันตรงที่ WRITELN เมื่อแสดงค่าต่างๆ ออกทางจอ ภาพแล้ว CURSOR จะขยับลงมาอีก 1 บรรทัด
6
จากตัวอย่างข้างบนนำมาสร้างเป็นโปรแกรมที่สมบูรณ์
PROGRAM WRITE_DEMO; BEGIN WRITELN (1234); WRITELN (124.75:3:2); WRITELN ('A'); WRITELN ('ILOVEU'); END.
7
ผลลัพธ์ 1234 124.75 A ILOVEU
8
รูปแบบโปรแกรมที่มีการรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์แล้วนำมาแสดงผลทางจอภาพโดยมีการรับค่า ค่าที่หนึ่งเป็นตัวเลข ค่าที่สองเป็นเลขมีทศนิยม ค่าที่สามเป็นข้อความ PROGRAM INPUT_OUTPUT; VAR X:INTEGER; A:REAL; CD:STRING; BEGIN WRITE('ENTER INTEGER:'); READLN (X); WRITE('ENTER REAL:'); READLN (A); WRITE('ENTER STRING:'); READLN (CD); WRITELN(X); WRITELN(A:6:3); WRITELN(CD); END.
9
ผลลัพธ์ ENTER INTEGER: 7 ENTER REAL: 124.75 ENTER STRING: ILOVEU 7
10
การคำนวณ การคำนวณในรูปแบบของ PASCAL จะมีการปฏิบัติการโดยมี OPERATOR ต่อไปนี้ + คือการบวกกัน - คือการลบกัน * คือการคูณกัน / คือการหารกัน DIV คือการหารกันโดยผลลัพธ์ที่ได้จะถูกตัดเศษทิ้ง MOD คือการหารกันโดยผลลัพธ์ที่ได้คือเศษของการหาร
11
ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการคณิตศาสตร์
มีการจัดอันดับ (Ordering) ของตัวดำเนินการเลขคณิตเมื่อนิพจน์ประกอบด้วย ตัวดำเนินการอยู่ในระดับ (level) เดียวกันหลายชนิด คอมพิวเตอร์จะทำงานจากซ้ายไปขวา ถ้ามีเครื่องหมายวงเล็บ ให้ทำการคำนวณในวงเล็บก่อน การจัดอันดับตัวดำเนินการตามลำดับการทำงาน มีดังนี้ เครื่องหมาย * / div mod ตามลำดับ เครื่องหมาย + - ตามลำดับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.