ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research
2
หัวข้อบรรยาย การวิจัยเชิงสำรวจ ขั้นตอนการวิจัย การกำหนดหัวข้อการวิจัย
การสำรวจเอกสาร การทบทวนวรรณกรรม และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การกำหนดปัญหาการวิจัย การสร้างกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย การกำหนดตัวแปรและการวัดตัวแปร การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การรายงานผลการวิจัย
3
การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
เป็นการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง (Sample) วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลอย่างเป็นระบบ ผลที่ได้นำมาอนุมาน (infer) ถึงกลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย
4
ขั้นตอนการวิจัย 1. กำหนดหัวข้อวิจัย
2. สำรวจเอกสาร การทบทวนวรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดปัญหาการวิจัย 4. การสร้างกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย 5. กำหนดตัวแปรและการจัดตัวแปร 6. กำหนดตัวอย่าง (Sampling) 7. กำหนดเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 8 วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 9. รายงานผลการวิจัย
5
• การกำหนดหัวข้อการวิจัย
☞ เป็นเรื่องที่แคบพอที่จะศึกษา ไม่ควรเป็นเรื่องที่กว้างเกินไป ☞ ควรสื่อความหมายในประเด็นที่วิจัยอย่างชัดเจน ☞ เป็นเรื่องที่ผู้วิจัยมีความรู้ ความสามารถและมีความสนใจที่จะทำการวิจัยได้ ☞ จะต้องมีประโยชน์และตอบสนองความต้องการของหน่วยงานหรือชุมชน หรือเป็นการเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการด้านใดด้านหนึ่ง ☞ คำนึงถึงระยะเวลา งบประมาณที่เหมาะสม
6
• การตรวจเอกสาร การทบทวนวรรณกรรม และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
• การตรวจเอกสาร การทบทวนวรรณกรรม และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง อ่าน/เก็บรวบรวมประเด็นแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือ ประเด็นของปัญหาของการวิจัย ประโยชน์ 1. ป้องกันการวิจัยซ้ำซ้อนกับงานวิจัยของบุคคลอื่นที่ทำมาแล้ว ผู้วิจัยสามารถทำการวิจัยได้รอบคอบ ละเอียดตรงเป้าหมาย และมีคุณภาพอย่างแท้จริง ช่วยในการเสนอแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ หัวข้อเรื่อง
7
• การกำหนดปัญหาการวิจัย
► ระบุประเด็นที่นักวิจัยสงสัยและอยากหาคำตอบ แนวทางในการกำหนดปัญหา - ศึกษาเบื้องต้นในเนื้อหาที่ทำวิจัยอย่างละเอียด - ศึกษาเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง - ปรึกษาผู้มีประสบการณ์ในเรื่องที่ศึกษา หลักเกณฑ์ - ปัญหาต้องกำหนดให้ชัดเจน/กำหนดในรูปของคำถาม - ควรปรากฎในรูปความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร หรือ มากกว่า
8
• การสร้างกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ - กรอบของการวิจัยในด้านเนื้อหาสาระ - ประกอบด้วย ตัวแปร และการระบุความสัมพันธ์ของตัวแปร - ทำให้นักวิจัย จัดระเบียบของข้อมูล เพื่อเห็นความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล สมมติฐานการวิจัย (Hypothesis) - ข้อความที่ใช้คาดคะเนความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร 2 ตัว แปรหรือมากกว่า - มีลักษณะเป็นข้อ ๆ - เป็นการเชื่อมโยงทฤษฎีและแนวคิดการวิจัย
9
• การกำหนดตัวแปรและการวัดตัวแปร
► ตัวแปร (Variable) คือ ลักษณะ คุณสมบัติของหน่วยต่าง ๆ ► ประเภทของตัวแปร ▲ แบ่งตามหน้าที่ - ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น - ตัวแปรตาม - ตัวแปรคุม ▲ แบ่งตามลักษณะ - เชิงปริมาณ : สามารถบอกค่าเป็นตัวเลขได้ - เชิงคุณภาพ : ไม่สามารถบอกค่าเป็นตัวเลขได้
10
• การกำหนดตัวแปรและการวัดตัวแปร (ต่อ)
► การวัดตัวแปร คือ กระบวนการแปรสภาพความคิด (Concept) ที่เป็นนามธรรมให้เป็นข้อมูลทางสถิติ ► ระดับของการวัด - Nominal Scale - Ordinal Scale - Interval Scale - Ratio Scale
11
• การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง (Sampling)
เป็นการคัดเลือกตัวอย่างที่จะทำการเก็บข้อมูล - เป็นตัวแทนที่ดี - มีขนาดมากพอที่จะเป็นตัวแทนได้
12
• เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
★ แบบสอบถาม (Questionnaire) ★ แบบสัมภาษณ์ (Interview)
13
• การวิเคราะห์และแปรผลข้อมูล
► วางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล - วิเคราะห์ตัวแปรอย่างไร - ตัวแปรใดเป็นตัวแปรอิสระ/ตัวแปรตาม - กำหนดสถิติที่จะใช้ - จัดเตรียมตารางรายงานผล ► การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ - สถิติพรรณา ใช้บรรยายลักษณะของประชากร - สถิติวิเคราะห์ ใช้ทดสอบสมมติฐาน (การวิเคราะห์ข้อมูลอาจใช้เครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรม สำเร็จรูปทางสถิติ)
14
• การรายงานผลการวิจัย
★ เสนอผลการวิจัยอย่างละเอียดตามรูปแบบที่กำหนด (ตามแบบ ว-3 กรมส่งเสริมการเกษตร)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.