ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ
2
จากแบบสอบถาม 5 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้บ่อยมากที่สุด
4 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้บ่อย 3 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้บางครั้ง 2 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้นานครั้ง 1 หมายถึงท่านทำพฤติกรรมนี้น้อยที่สุดหรือไม่เคยเลย พฤติกรรม (5) (4) (3) (2) (1) 1. ท่านกินขนมในห้องเรียน 2. ท่านพยายามทำแบบฝึกหัดตามอาจารย์ 3. ท่านตั้งใจฟัง 4. ท่านพูดเสียงดัง 5. ท่านจะถามเมื่อมีข้อสงสัย
3
ขั้นตอนลงข้อมูลของแบบสอบถามที่มีคำถามเชิงลบและบวก
เมื่อได้รับแบบสอบถามมา อย่าเพิ่งกลับคะแนน ให้ Key ข้อมูลปกติ ขั้นตอน 1 แล้วค่อยมา Recode การ Recode ไม่จำเป็นต้อง ทำทุกเรื่อง ต้องสมเหตุสมผล การ Recode ให้ทำของคำถามเชิงลบ ขั้นตอน 2 ทำการ Transform หาค่า Sum หาค่า Mean ย่อยก่อน (หากข้อใดมีการ Recode จะเลือกเอาข้อที่ Recode แล้ว) ขั้นตอน 3 ทำการ Analyze หาค่า Mean รวม ,ค่า SD รวม
4
การ Recode Recode into same variables Recode into different variables
5
ขั้นตอนที่ 1 Recode 1.1 Transform>Recode>into different variable
6
1.2 เลือกข้อที่ต้องการเปลี่ยนคือข้อ 1 และข้อ4 เลือกข้อที่ต้องการ กด
7
1.3 ใส่ Output Variable กด Change
1.4 จะได้ผลดังหน้าจอ
8
1.6 แก้ไขขัอมูลดังภาพ จากนั้นกด Continue
1.5 คลิกปุ่ม Old and new value จะได้หน้าจอดังภาพ จากนั้นใส่ค่า Old value (ค่าเดิม), New value (ค่าใหม่) กด Add 1.6 แก้ไขขัอมูลดังภาพ จากนั้นกด Continue
9
1.7 เพิ่มจำนวนข้อที่ต้องการเปลี่ยนให้ครบ ในที่นี้คือ ข้อ 1, 4 (อาจใส่ก่อนให้ครบทุกข้อที่ต้องการ Recode ทีเดียวในขั้นตอน 1.2) จากนั้นเลือก OK
10
เปรียบเทียบข้อมูลก่อน Recode และหลัง Recode
11
ขั้นตอนที่ 2 หาค่า Mean ย่อย และ Sum (ซึ่งแล้วแต่กรณี)
2.1 Transform >Compute
12
2.2 หา Mean ของข้อที่ต้องการเท่านั้นสำหรับข้อที่มีการ Recode ให้เลือกเอาข้อที่มีการ Recode จากนั้นเลือก OK
13
2.3 จะได้ผลลัพธ์
14
ขั้นตอนที่ 3 หา X และ SD 3.1 Analyze > Descriptive Statistic > Descriptives
15
3.2 การหา Mean และ Standard Deviation ข้อ N_Q1, 2,3,N_Q4,5
16
ผลลัพธ์การหา Mean และ Standard Deviation ข้อ N_Q1, 2,3,N_Q4,5
17
หากท่านต้องการแปลผลพฤติกรรมของนิสิตโดยรวมทั้งหมดว่า ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ไม่ดี จะต้องทำการ Recode ข้อที่มีความหมายทางลบ เพื่อให้ผลลัพธ์ออกมาสมเหตุผลมากที่สุด ช่วงคะแนน หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนดีมาก หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนดี หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนปานกลาง หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนพอใช้ หมายถึง พฤติกรรมในการเรียนไม่ดี
18
สรุปแบบที่ 1 (Recode แล้วนำมาหาค่า)
ตาราง n ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมในการเรียน ของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา พฤติกรรมในการเรียน ค่าเฉลี่ย X ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ระดับ 1. ท่านกินขนมในห้องเรียน 4.68 0.47 ดีมาก 2. ท่านพยายามทำแบบฝึกหัดตามอาจารย์ 3.65 0.48 ดี 3. ท่านตั้งใจฟัง 4.32 4. ท่านพูดเสียงดัง 5. ท่านจะถามเมื่อมีข้อสงสัย รวม 4.33 0.19 หมายเหตุ : ข้อ 1 และ ข้อ 4 เป็นคำถามเชิงลบ ที่ได้ทำการปรับคะแนนใหม่แล้ว (Recode) จากตารางที่ n พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการเรียนอยู่ในระดับดีมาก (X = 4.33 , SD = 0.19)
19
สรุปแบบที่ 2 (Recode แล้วนำมาหาค่า)
ตาราง n ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมในการเรียน ของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา ตัวแปร ค่าเฉลี่ย X ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ระดับ พฤติกรรมในการเรียน 4.33 0.1897 ดีมาก จากตารางที่ n พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการเรียนอยู่ในระดับดีมาก (X = 4.33 , SD = 0.19)
20
แบบที่ 3 (ข้อมูลจริงที่ยังไม่ Recode)
บ่อยมากที่สุด บ่อย บางครั้ง นานครั้ง น้อยที่สุด จำนวน ร้อยละ 1. ท่านกินขนมในห้องเรียน 10 20 40 5 2. ท่านพยายามทำแบบฝึกหัดตามอาจารย์ 3. ท่านตั้งใจฟัง 4. ท่านพูดเสียงดัง 5. ท่านจะถามเมื่อมีข้อสงสัย
21
การส่งงาน การสรุปให้ส่งแบบใดแบบหนึ่ง คือแบบมีรายละเอียด(1) หรือ แบบสรุป(2)เท่านั้น แต่แบบมีรายละเอียดเราจะได้เห็นรายละเอียดด้วย ซึ่งการสรุปทั้ง 2 แบบ สามารถตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ได้เช่นกัน หากท่านต้องการแจกแจงเป็นความถี่ อีก 1 ตารางก็ได้ (3) หรือท่านจะส่ง โดยแสดงตาราง (2) และ (3) ก็ได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.