งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3
1. วัฒนธรรมทางการเมือง 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง 3. ลำดับขั้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง พ.ต.ท.ดร. ษณกร มั่นเมือง

2 วัฒนธรรมทางการเมือง วัฒนธรรม เป็นแนวความคิด แนวปฏิบัติ หรือเทคนิค วิธีการดั้งเดิมที่ใช้ร่วมกันโดยกลุ่มที่สามารถบอกได้ว่าเป็นกลุ่มคนพวกเดียวกัน วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นแบบแผนของทัศนคติและความเชื่อของบุคคลที่มีต่อระบอบการเมืองของกลุ่มสมาชิกของระบบการเมืองหนึ่ง

3 วัฒนธรรมทางการเมือง แบ่งออกได้เป็น
วัฒนธรรมการเมืองดั้งเดิม จำกัดวงแคบ ( parochial political culture ) วัฒนธรรมการเมืองแบบไพร่ฟ้า ( subject political culture ) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม ( participation political culture )

4 วัฒนธรรมทางการเมืองมีส่วนทำให้ประชาชนต้องการมีส่วนร่วมทางการเมือง จึงช่วยสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย โดยวัฒนธรรมทางการเมืองของไทย กำลังเคลื่อนจากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า ไปสู่วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม

5 วิวัฒนาการของการของการเมืองไทย
ปี พ.ศ. ยุค ตัวแสดงที่สำคัญ รัฐราชการ (อุปถัมภ์ ประชาธิปไตย) ข้าราชการและเทคโนแครต ประชาธิปไตยแบ่งบาน นักเรียน นักศึกษา (พฤษภาทมิฬ) ประชาธิปไตยครึ่งใบ ( การประนีประนอมระหว่างเผด็จการกับประชาธิปไตย) ข้าราชการและนักธุรกิจ 2535- ปัจจุบัน การปฏิรูปการเมือง (หลังพฤษภาทมิฬประชาชนต้องการมีส่วนร่วมมากขึ้น) นักธุรกิจและประชาชน ดัดแปลงจาก ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร ( 2554 , หน้า 212)

6 ลำดับขั้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง (เดิม)
4 3 4 Milbrath 1965 หน้า 18 อ้างถึงใน D. Ruedin 2007

7 ลำดับขั้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง
มีลักษณะ 4 ประการ คือ 1) การกำหนดตัวผู้ปกครอง 2) การผลักดันการตัดสินใจของรัฐบาล 3) การวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล 4) การชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง

8 (Milbrath, 1965 อ้างถึงใน สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, 2542: 326)

9 ลำดับขั้นของการมีส่วนร่วมทางการเมือง
จะมีลักษณะสะสม จากน้อยไปหามาก จากต่ำสุดไปสูงสุด 14 ลำดับขั้น เป็นลำดับของความเกี่ยวพันทางการเมือง ดังนี้ 1.กิจกรรมของผู้สนใจทางการเมือง 4 ขั้น 1) การแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง 2) การใช้สิทธิเลือกตั้ง 3) การริเริ่มประเด็นพูดคุยทางการเมือง 4) การชักจูงผู้อื่นให้เลือกตั้งผู้ที่ตนสนับสนุน

10 ลำดับขั้นของการมีส่วนร่วมทางการเมือง
2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนทางการเมือง 4 ขั้น 1)การติดกระดุมหรือสติ๊กเกอร์เพื่อแสดงการสนับสนุน 2)การติดต่อกับนักการเมืองหรือผู้นำทางการเมือง 3) การบริจาคเงินสนับสนุนทางการเมือง 4) การร่วมประชุมหรือชุมนุมทางการเมือง

11 ลำดับขั้นของการมีส่วนร่วมทางการเมือง
3. กิจกรรมการต่อสู้ทางการเมือง 6 ขั้น การร่วมรณรงค์ทางการเมือง การเป็นสมาชิกสำคัญของพรรคการเมือง การร่วมประชุมแกนนำของพรรค การร่วมระดมทุน การเสนอตัวเป็นคู่แข่งทางการเมือง การดำรงตำแหน่งทางการเมือง

12 อ้างอิง Milbrath, L. W. (1965). Political Participation: How and Why Do People Get Involved in Politics? Chicago: Rand McNally สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (2542). การเมือง: แนวความคิดและการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพ.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ D. Ruedin (2007) . TESTING MILBRATH’S 1965 FRAMEWORK OF POLITICAL PARTICIPATION: INSTITUTIONS AND SOCIAL CAPITAL. England.university of oxford ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร (2554). รัฐศาสตร์ ( พิมพ์ครั้งที่ 9). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ดาวน์โหลด ppt 1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google