ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลยุทธ์การส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ไทย
สป./สนพ.
2
เกษตรอินทรีย์: สินค้าเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เกษตรไร้สารพิษ เกษตรปลอดสารพิษ เกษตรอนามัย เน้นระบบจัดการที่เป็นมิตรต่อระบบนิเวศน์ ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง สารกำจัดวัชพืช สารเร่งการเติบโต ห้ามใช้ GMO ไม่ใช้สารเคมี ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ไม่ห้ามใช้GMO ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเร่งการเติบโตได้ แต่ต้องมีสารตกค้างไม่เกินปริมาณที่กำหนด ไม่ใช้สารกำจัดแมลงและสารกำจัดวัชพืช ไม่ห้ามใช้GMO ใช้ปุ๋ยเคมี สารกำจัดแมลงและสารกำจัดวัชพืช และสารเร่งการเติบโตได้ แต่ต้องมีสารตกค้างไม่เกินปริมาณที่กำหนด เน้นกรรมวิธี ด้านความสะอาดก่อนและหลังเก็บเกี่ยว ระบบ การผลิต สป./สนพ. ที่มา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3
แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก
ตลาดสำคัญ ปัจจัยขยายตัว สหภาพยุโรป อเมริกาเหนือ (97%ของตลาดโลก) ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย พฤติกรรมผู้บริโภคเน้นสินค้าที่ดีต่อสุขภาพ ช่องทางจัดจำหน่ายเข้าถึงผู้บริโภคมากขึ้น มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์เป็นที่ยอมรับ กระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มาตรการด้านสุขอนามัยที่เข้มงวดของประเทศผู้นำเข้า ตลาดเติบโตต่อเนื่อง ปี 2553 จะมีมูลค่า 100,000 ล้าน US$ สป./สนพ. ที่มา สหกรณ์กรีนเน็ต, The World of Organic Agriculture , ศูนย์พาณิชยกรรมระหว่างประเทศ (International Trade Centre – UNCTAD / WTO)
4
การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย ปี 2549
การบริโภคใน ประเทศ ปี 2549 มีมูลค่า 520 ล้านบาท ข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าว ผักสดและเมล็ดภัณฑ์ผัก ผลไม้แปรรูป น้ำตาล/น้ำมันปาล์ม กุ้ง สินค้าเกษตรอินทรีย์ ที่ส่งออก ตลาดสำคัญ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงค์โปร์ สป./สนพ. ที่มา สหกรณ์กรีนเน็ต มูลนิธิสายใยแผ่นดิน
5
การผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทย ปี 2549
ผลผลิตรวม 30,381 ตัน พื้นที่เพาะปลูก 140,960 ไร่ (0.1% ของ พื้นที่รวม) 18,960 ตัน (63%) 535 ล้านบาท 3,747 ตัน (12%) 75 ล้านบาท 4,618 ตัน (15%) 256 ล้านบาท 3,056 ตัน (10%) 82 ล้านบาท บริโภคในประเทศ 16,665 ตัน (520 ล้านบาท) ส่งออก 13,716 ตัน (428 ล้านบาท) สป./สนพ. ที่มา สหกรณ์กรีนเน็ต, มูลนิธิสายใยแผ่นดิน
6
การผลิตสินค้าการเกษตรอินทรีย์ในไทย
อื่นๆ (10%) ข้าว (63%) สุรินทร์ ยโสธร อุบลราชธานี อุดรธานี มหาสารคาม ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา เชียงรายพะเยา แพร่ ผักสด สมุนไพร (16%) นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี เชียงใหม่ สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี ผลไม้ (12%) ชุมพร นนทบุรี เชียงใหม่ นครปฐมประจวบคีรีขันธ์ สป./สนพ. ที่มา สหกรณ์กรีนเน็ต, กระทรวงพาณิชย์, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
7
สินค้าที่มีการตรวจรับรองมาตรฐาน
ข้าว ข้าวหอมมะลิ ข้าวมะลิแดง ข้าวเหลืองอ่อน ข้าวเหลืองประทิว ข้าวเหนียว ข้าวนิล ถั่วและธัญพืช ถั่วเหลือง ถั่วลิสง งา ผัก ผักสดต่างๆ ข้าวโพดอ่อน หน่อไม้ฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว ผลไม้ กล้วย สัปปะรด มะละกอ ขนุน มะม่วง ลำไย 8 กลุ่มสินค้า เครื่องดื่ม ชา มะตูม ตระไคร้แห้ง ชากุหลาบ น้ำผึ้งป่า เครื่องปรุงอาหาร กะทิ น้ำตาลทราย แป้งมันสำปะหลัง น้ำมันปาล์ม สมุนไพร ฟ้าทะลายโจร ยอ สัตว์น้ำ กุ้ง ปลา สป./สนพ. ที่มา สหกรณ์กรีนเน็ต
8
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย
จุดแข็ง (Strengths) ความต้องการบริโภคมากขึ้น นโยบายรัฐบาลให้ความสำคัญมากขึ้น ราคาสูงกว่าระบบการผลิตแบบดั้งเดิม ความอุดมสมบูรณ์ของผลผลิตและภูมิอากาศที่เหมาะสม มีภูมิปัญญาไทยในการปราบศัตรูพืชด้วยวิธีการและวัสดุจากธรรมชาติ มีหน่วยงานตรวจรับรองสินค้าเป็นที่ยอมรับในระดับสากล (สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) ซึ่งเป็นเอกชน) มีหน่วยงานภาคเอกชนที่ประสบความสำเร็จเป็นต้นแบบได้ สป./สนพ.
9
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย
จุดอ่อน (Weaknesses) การผลิตยังมีขนาดเล็กและขาดความหลากหลาย การผลิตขึ้นกับสภาพดินฟ้าอากาศและคุณภาพไม่สม่ำเสมอ เกษตรกรยังไม่ตื่นตัวในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ ขาดงบประมาณ/องค์การที่มีประสิทธิภาพสนับสนุน การรับรู้ด้านมาตรฐานสินค้าไม่แพร่หลาย ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรอินทรีย์ยังเข้าไม่ถึงเครือข่าย/จุดกระจายสินค้า/ ผู้กระจายสินค้า ข้อมูลด้านการผลิตและการตลาดไม่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการบริโภคไม่เพียงพอ ผู้บริโภคไม่สามารถแยกแยะเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้า สป./สนพ.
10
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย
โอกาส (Opportunities) กระแสการบริโภคสินค้า ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีมากขึ้น มีการขยายการผลิตสินค้าอินทรีย์มากขึ้น แนวโน้มความต้องการสินค้ามากขึ้น การพัฒนามาตรฐานรับรองสู่ระดับสากล มีโอกาสขยายตลาดอื่นๆ ในต่างประเทศมากขึ้น เพิ่มจากสหภาพยุโรป สป./สนพ.
11
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย
อุปสรรค (Threats) การขาดความตระหนักในการผลิตอาหารปลอดภัยและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การผ่อนผันให้ตรวจสอบรับรองไม่ครบถ้วนตามมาตรฐาน ส่งผลกระทบภาพลักษณ์ต่อส่วนรวม หากมีการผลิตเพิ่มขึ้นมาก สินค้าที่อยู่ในช่วงปรับเปลี่ยนมีแนวโน้มราคาลดลง ขาดแคลนงบประมาณในการช่วยเหลือเกษตรกร มาตรฐานการนำเข้าที่สูงขึ้น/การกีดกันทางการค้าใหม่ การแข่งขันกับประเทศคู่แข่ง สป./สนพ.
12
กลยุทธ์การพัฒนาสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย
กลยุทธ์ระดับชาติ (จากผลการศึกษาของสำนักงานนวัตกรรม แห่งชาติ ร่วมกับ ITC*) ขยายฐานการผลิตสำหรับสินค้าเกษตรอินทรีย์ เพิ่มขีดความสามารถและปรับปรุงโครงสร้างให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ให้ความสำคัญกับการวิจัยสินค้า เกษตรอินทรีย์ ปรับปรุงและยกระดับสมรรถนะของผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ภายในประเทศ ขยายตลาดส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ ทำให้ประเทศไทยเป็นผู้นำและเป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศในระดับภูมิภาค กลยุทธ์ด้านการตลาด (กระทรวงพาณิชย์) การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ (Capacity Building) การขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ในและต่างประเทศ (Market Expansion) การสร้างมูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ (Value Creation) ตามความต้องการของตลาด สนับสนุนการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) สป./สนพ. * ศูนย์พาณิชยกรรมระหว่างประเทศ (International Trade Centre – UNCTAD / WTO)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.