ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMaprang Charoenkul ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม 2. ห้องมืดสำหรับ อัดและขยายภาพ
2
ห้องมืดสำหรับล้างฟิล์ม
เป็นห้องที่แสงไม่สามารถเข้าได้เลย ควรมีเครื่องปรับอากาศเพราะจะช่วยควบคุมอุณหภูมิของน้ำยาล้างรูปด้วยและช่วยระบายอากาศด้วย เนื้อที่ในห้องควรไม่ต่ำกว่า 3 ตร.เมตร
3
อุปกรณ์ที่ควรมีในห้องมืดสำหรับล้างฟิล์ม
1. อ่าง มีที่ ถ่ายน้ำสำหรับวางน้ำยา ประมาณ 3 ใบสูงพอประมาณยาว 50*100 ซม. ลึก 20 ซม. 2. มี tank สำหรับล้างฟิล์มพร้อมสำหรับบรรจุฟิล์มเข้าล้าง ใช้ได้ทั้งฟิล์มขนาด 35 มม. และ 3 นิ้ว 3. เทอร์โมมิเตอร์ 4. Timer หรือนาฬิกาจับเวลา 5. ขวดสีชาสำหรับน้ำยาเคมี 3-4 ขวด 6. เครื่องชั่งตวง คน น้ำยาต่างๆ 7.safety-light อาจเป็นสีแดงหรือสีเขียวเข้มก็ได้หรือมีทั้ง2 ก็ได้สำหรับล้างฟิล์มเขียวหรือแดง 8.น้ำยาสำหรับล้างฟิล์ม มี 8.1 น้ำยาสร้างภาพ 8.2 น้ำยาหยุดภาพ 8.3 น้ำยาคงสภาพ 9.มีอ่างที่มีน้ำสะอาดที่พร้อมที่จะเปิดใช้ทันที 10.ฟองน้ำอย่างดีหรือหนังซามัวสำหรับเช็ดฟิล์ม 11. คลิบสำหรับหนีบฟิล์มตาก
4
ห้องมืดสำหรับอัดและขยายภาพ
ห้องที่มีขนาดใหญ่กว่าห้องมืดสำหรับล้างฟิล์ม 1 เท่าตัวเพราะห้องนี้ต้องทำงานนานเป็นห้องที่มิดชิดแสงสว่างลอดเข้าไม่ได้เช่นกันมีเครื่องปรับอากาศควรมีไฟฟ้าเป็นแสงที่ปลอดภัยเช่น สีแดงสลัว ส้มสลัว หรือ เหลืองสลัวโต๊ะตั้งเครื่องขยายภาพ
5
อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในห้องมืดอัดและขยายภาพ
1. แท็งล้างฟิล์ม 2. แผ่นที่ใช้บังคับแสงขณะขยายภาพ 3. เครื่องที่ทำให้กระดาษแห้ง 4. ถาดล้างกระดาษขยายภาพที่ติดกาลักน้ำที่ขอบ 5. ขวดน้ำยา 6. น้ำยาที่ทำให้สภาพอยู่ตัว 7. ไฟนิรภัย 8. น้ำยาหยุดภาพ 9. น้ำยาสร้างภาพ 10. โต๊ะเปียก 11. แว่นขยายสำหรับโฟกัส 12เครื่องขยายภาพ 13. นาฬิกาจับเวลา 14.เครื่องตัดกระดาษ 15. เครื่องทำให้กระดาษอาซีให้แห้ง
7
สิ่งที่ควรคำนึงถึงเมื่อออกแบบสร้างห้องมืด
1. ตำแหน่งของเครื่องขยายไม่ควรอยู่ห่างที่ตั้งอ่างน้ำเกิน 4 ฟุต 2. ก๊อกน้ำและสวิตช์ไฟ ควรติดตั้งไว้ในที่เอื้อมถึงได้ง่าย 3. ขอบพื้นโต๊ะของอ่างน้ำควรสูงพอเหมาะ 4. พื้นห้องต้องเป็นวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย 5. ทางเข้าควรมีประตูกั้นแสง 6. ทำหิ้งใส่ของประเภทอุปกรณ์ไฟฟ้าสูงประมาณ 4 ฟุต 7. เป็นห้องที่ทำความสะอาดง่าย ควบคุมไม่ให้มีฝุ่นละออง
8
ทางเข้าห้องมืด การใช้ประตู2บาน
9
ทางเข้าแบบซิกแซก
10
ทางเข้าห้องมืดแบบประตูหมุน
11
การระบายอากาศ อุณหภูมิควรประมาณ20 c ความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 50-60 %
-ความชื้นมากมีผลต่อฟิล์ม -ความชื้นน้อยจะทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตบนแผ่นฟิล์มทำให้ฟิล์มดูดเศษฝุ่นได้ดี ควรมีพัดลมดูดอากาศออกจากห้องมืด ระบบแสงสว่าง ควรรมีวงจรไฟฟ้า 2 วงจร -วงจรที่ 1 สำหรับแสงขาว -วงจรที่ 2 สำหรับแสงนิรภัย หลอดนิรภัยควร เป็นหลอดธรรมดาที่ใช้ตามบ้าน กำลัง 15 วัตต์และใช้ฟิลเตอร์กรองแสงที่สามารถเปลี่ยนได้
34
น้ำยาล้างฟิล์ม มีหลายชนิด แล้วแต่ยี่ห้อ แต่มีตัวสารเคมีคล้ายกัน ต่างกันที่ปริมาณ บางชนิดเป็นผงเป็นซอง นำมาละลายน้ำเอง บางชนิดมาเป็นของเหลวบรรจุขวด เช่น KODAK DEVELOPER D-76
35
ตัวอย่างสูตรน้ำยาล้างฟิล์ม KODAK DEVELOPER D-76
water (50OC or 125OF) cc Elon g Sodium Sulphite(Anhydrous) g Hydroquinone g Borax g เติมน้ำจนครบ 1 ลิตร ใช้ล้างฟิล์ม ผสมน้ำยากับน้ำ 1:1 ที่ 20OC
36
น้ำยาหยุดภาพ (stop bath)
water litre Acetic Acid 28 % cc
37
น้ำยาคงสภาพ(fixer of fixing bath)
water 50OC cc Sodium Thiosulphate(Hypo) g Sodium Sulphite g Acrtic Acid 28% cc Boric Acid crystals g Potassium Alum g เติมน้ำจนครบ 1000 cc
38
ขั้นตอนการล้างฟิล์ม น้ำยาที่ใช้มี 3 ชนิด คือ 1. น้ำยาสร้างภาพ 2. น้ำยาหยุดภาพ 3. น้ำยาคงสภาพ ก่อนล้างจะต้องตรวจสอบอุณหภูมิน้ำยาให้ถูกต้องเสมอ
39
ขั้นตอนต่างๆในการล้างฟิล์ม
1. เทน้ำยาสร้างภาพจนเต็มถัง แล้วปิดฝาครอบให้สนิท 2. เขย่าถังล้างฟิล์มประมาณ 5 วินาที ทุกระยะเวลา 30 วินาที จนครบเวลาตามสูตร แล้วเทน้ำยาออก 3. เทน้ำยาหยุดภาพ หรือน้ำเปล่าก็ได้ ลงในถัง เขย่าถังประมาณ 30 วินาที แล้วเทออก 4. เทน้ำยาคงสภาพลงในถังล้าง เขย่าประมาณ 7-10 วินาที แล้วเทน้ำยาออก 5. นำฟิล์มไปล้างด้วยน้ำที่ไหลผ่านตลอดเวลาประมาณ 1/2 - 1 ชม. 6. แขวนฟิล์มด้วยคลิปหนีบ แล้วใช้แปรงฟองน้ำอย่างนุ่มเช็ดฟิล์มเบาๆเพื่อขจัดคราบน้ำ ทิ้งฟิล์มให้แห้ง เนกาตีฟที่ได้ก็พร้อมที่จะอัดขยายต่อไป
40
เนกาตีฟที่ได้จะมี 3 ลักษณะใหญ่ๆคือ
1. เนกาตีฟ under คือ เนกาตีฟที่ล้างออกมาแล้วบางหรือขาวจัด 2. เนกาตีฟ normal คือ เนกาตีฟที่มีความเข้มเหมาะสม 3. เนกาตีฟ over คือ เนกาตีฟที่ล้างออกมาแล้วดำเกินไป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.