ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMaprang Kaewburesai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด มีหลายชื่อ สามารถแบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้
3
1.น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โมโนแซคคาไรด์ : Monosaccharide เช่น (กลูโคส : Glucose,ฟลุกโตส : Fructose)
5
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว กลูโคส : Glucose ฟลุกโตส : Fructose
Aldehyde = Aldose Ketone = Ketose
8
Glycoaldehyde Glyceraldehyde Dihydroxyacetone C=2, Diose C=3, Triose C=4, Tetrose Erythrose Erythrulose
9
Ribose Ribulose C=5, Pentose C=6, Hexose C=7, Heptose Galactose Psicose Sedoheptulose Mannoheptulose
10
โดยสรุปแล้ว คาร์โบไฮเดรตจะมีรูปร่าง หน้าตา แบ่งออกตามกลุ่ม เช่น น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ก็จะมีรูปร่างเป็นสารโมเลกุลเล็กๆ อาจมีลักษณะโครงสร้างเป็นเส้นสั้นๆที่เกิดจาก สารประกอบของธาตุคาร์บอน (คาร์โบ) และน้ำ (ไฮเดรต) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ คาร์โบไฮเดรต และโครงสร้างที่เป็นเส้นนี้เองสามารถมาเชื่อมกันเป็นวงปิด มีลักษณะเป็นเหลี่ยมได้
11
2.น้ำตาลโมเลกุลคู่ ไดแซคคาไรด์ : Disaccharide เช่น (มอลโตส : Maltose, ซูโครส : Sucrose)
13
น้ำตาลโมเลกุลคู่ มอลโตส : Maltose α(1→4) หรือ α(1→6) ซูโครส : Sucrose
Glycosidic bond
14
น้ำตาลโมเลกุลคู่ ก็จะมีรูปร่างที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวด้วยพันธะ Glycosidic เกิดเป็นน้ำตาลที่มีลักษณะเป็นวง สอง โมเลกุล ซึ่งเมื่อน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีลักษณะเป็นวงนี้มาเชื่อมต่อกันหลายโมเลกุลเข้าก็จะทำให้เกิด คาร์โบไฮเดรตที่มีลักษณะเป็นเส้นสายยาวๆ เกิดขึ้น
15
3.โมเลกุลสายยาว โอลิโกแซคคาไรด์ : Oligosaccharide (3-10 โมเลกุล) โพลีแซคคาไรด์ : Polysaccharide (>10 โมเลกุล) เช่น (แป้ง : Starch, เซลลูโลส : Cellulose)
18
โมเลกุลสายยาว (Poly-) แป้ง : Starch α(1→4) หรือ α(1→6) เซลลูโลส : Cellulose β(1→4)
19
ไกลโคเจน : Glycogen α(1→4) หรือ α(1→6)
20
ราฟฟิโนส : Raffinose (Oligo-) (Trisaccharide : Galactose + Fructose + Glucose)
21
ไคติน : Chitin (Polymer of N-acetylglucosamine)
23
คุณสมบัติ และ หน้าที่ คาร์โบไฮเดรตทำหน้าที่หลายอย่างในสิ่งมีชีวิต แต่ที่ถือว่าเป็นหน้าที่หลักๆ ได้แก่ น้ำตาล ไกลโคเจน และ แป้งเป็นแหล่งของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการเผาผลาญเพื่อให้ได้พลังงานในสิ่งมีชีวิต (ไกลโคไลซิส : Glycolysis และ ทีซีเอ ไซเคิล : TCA cycle ) เซลลูโลส ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างให้สิ่งชีวิต จำพวก พืช ไคติน เป็นโครงสร้างให้สิ่งมีชีวิต เช่น กุ้ง แมลง เป็นต้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.