ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
RDF/ MSW Industry for Thailand
July 2011 Information to Prospective Investors Green Field Power Co.,LTD.
2
MSW Management for Green Energy
3
เป้าหมายพลังงานทดแทนด้านไฟฟ้า
การผลิตไฟฟ้าจาก Biogas จากน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและ ฟาร์มปศุศัตว์ จำนวน 280 MW. การผลิตไฟฟ้าจาก Biogasพืชพลังงานยังไม่มีในประเทศไทย
4
การผลิตไฟฟ้าตามประเภทเชื้อเพลิง ปี 2552
ใช้ฟอสซิล 92.2% และในจำนวนนี้ใช้ก๊าซธรรมชาติ 72.5% ใช้พลังงานทดแทนเพียง 1.4% (จากเป้าหมาย 10%) ที่มา : กระทรวงพลังงาน
5
Composition of MSW
6
Renewable Energy from MSW
7
ผลิตก๊าซชีวภาพพัฒนาเป็นพลัง CBG ใช้ ในรถยนต์
สำหรับในช่วงปี ได้มีการส่งเสริมวิจัยพัฒนานำกากของเสีย โดยเฉพาะการนำพืชพลังงานที่มีศักยภาพมาหมักเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพใช้ทดแทน พลังงาน ซึ่งผลที่ได้นอกจากจะสามารถนำมาผลิตไฟฟ้าและความร้อนแล้ว จะมีการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การผลิตเป็นก๊าซชีวภาพอัด (CBG) ใช้ทดแทนNGV ในภาคขนส่งอีกด้วย โดยปัจจุบันมีประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น เยอรมนีสามารถพัฒนาเทคโนโลยีในการหมักพืชพลังงาน เพื่อให้ได้ก๊าซมีเทนมาใช้เป็นเชื้อเพลิงแล้ว กว่า 5,000 แห่งทั่วประเทศ และจีนมีโรงผลิตไฟฟ้าที่ใช้หญ้าเลี้ยงสัตว์ขนาด 30 เมกะวัตต์แล้ว ส่วนในประเทศไทย สนพ. ได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) ทำการศึกษาวิจัยนำพืชชนิดต่างๆที่มีอยู่ในประเทศไทยและคาดว่าจะมีศักยภาพ ซึ่งหนี่งในจำนวนพืชที่ทำการศึกษาจะมี หญ้าเลี้ยงช้าง ที่มีการปลูกอยู่แล้วในประเทศ มาทดลองผลิตเป็นพลังงานซึ่งหญ้าดังกล่าว มีลักษณะลำต้นคล้ายอ้อย เติบโตเร็ว และเป็นหญ้าในตระกูลเดียวกับหญ้าที่ประเทศเยอรมนีนำมาผลิตเป็นพลังงาน ปัจจุบันมีผลผลิตอยู่ที่ 40 ตัน/ไร่/ปี โดยหญ้าเลี้ยงช้าง 1 ตัน สามารถผลิตไบโอแก๊สได้ ลบ.ม. ทั้งนี้ หากต้องการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ 1 เมกะวัตต์ต้องใช้พื้นที่ปลูกหญ้าประมาณ 438 ไร่
8
"การส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงช้าง เพื่อนำมาผลิตเป็นพลังงานนั้นนอกจากจะเป็นผลดีต่อเกษตรกร คือ สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรโดยปัจจุบัน ราคารับซื้อของศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย จ.ลำปาง อยู่ที่ประมาณ 1.20 บาท เกษตรกรจะมีรายได้จากการจำหน่ายปีละ 48,000 บาทต่อไร่ และหากโครงการวิจัยดังกล่าวประสบผลสำเร็จ เชื่อว่าหญ้าเลี้ยงช้าง จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของพืชพลังงานในอนาคต ที่สามารถนำไปผลิตเป็นพลังงาน ทดแทนการนำเข้าน้ำมันดิบ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวจากต่างประเทศ และทดแทนการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และที่สำคัญ ยังเป็นการสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศในอนาคตอีกด้วย" ผอ.สนพ. กล่าว
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.