งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
เมธี ชุ่มศิริ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

2 หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร
หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร

3 นิยาม “อาคาร” หมายความวา ตึก บาน เรือน โรง ราน แพ คลัง สินคา สํานักงานหรือสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่น ซึ่ง บุคคลอาจเขาอยูหรือเข้าใชสอยได

4 ห้ามเจ้าของ / ผู้ครอบครองอาคาร ถ้า ฝ่า ฝืน
1. ทำให้อาคาร/ ส่วน /สิ่งที่ ต่อเนื่องของอาคาร ชำรุดทรุดโทรม สภาพรกรุงรัง (ม.21) ถ้า ฝ่า ฝืน จนอาจเป็น อันตรายต่อสุขภาพ ของผู้อยู่อาศัย /เป็นที่อาศัย ของสัตว์ให้โทษ 2. มีสินค้า/ เครื่องเรือน/ สัมภาระ/ สิ่งของ มากเกินไป/ซับซ้อน กันเกินไป (ม.22) 3. ยอม/จัดให้คน อาศัยอยู่ มากเกินไป (ม.24) ออกคำสั่งให้แก้ไข/เปลี่ยนแปลง/ รื้อถอน/ย้ายหรือจัดเสียใหม่ (ม.23) เจ้าพนักงานท้องถิ่น ถ้าไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง มีอำนาจเข้าดำเนินการได้ โดยเจ้าของเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย

5 มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และใหมีอํานาจแตงตั้งเจาพนักงานสาธารณสุขกับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมหรือยกเวนคาธรรมเนียมและกําหนดกิจการอื่ืนเื่พื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได มาตรา 24 เพื่อประโยชนในการควบคุมมิใหอาคารใดมีคนอยูมาก เกินไปจนอาจเป็นอันตรายตอสุขภาพของผูอยูในอาคารนั้น ให รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศในราช กิจจานุเบกษากําหนดจํานวนคนตอจํานวนพื้นที่ของอาคารที่ถือว ามีคนอยูมากเกินไป ทั้งนี้โดยคํานึงถึงสภาพความเจริญจํานวน ประชากรและยานชุมชนของแตละทองถิ่น เมื่อมีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งแลว หามมิใหเจาของ หรือผูครอบครองอาคารตามประกาศนั้นยอมหรือจัดใหอาคารของ ตนมีคนอยูเกินจํานวนที่รัฐมนตรีกําหนด

6 การควบคุม ตาม ม.24 รัฐมนตรี ออกประกาศ กำหนดจำนวนคนต่อ พื้นที่ของอาคาร
โดยคำแนะนำของ คณะ กก.สธ. รัฐมนตรี ออกประกาศ 1. อาคารที่พักอาศัย (ประกาศฯ 6/2538) 2. อาคารที่พักของคนงานก่อสร้าง (ประกาศฯ 7/2538) 3. อาคารโรงงาน (ประกาศฯ 8/2538) กำหนดจำนวนคนต่อ พื้นที่ของอาคาร ที่ถือว่ามีคนอยู่มากเกินไป พักอาศัย/ปฏิบัติงานมากกว่า 1 คน ต่อพื้นที่ 3 ตารางเมตร

7 ประเด็นพิจารณา กรณี บ้านเช่า ..... ทำไงดี ผู้เป็นเจ้าของบ้าน
ผู้เช่า = ผู้ครอบครอง

8 ประเด็นพิจารณา กรณี ที่อยู่อาศัยชั่วคราวของคนงานก่อสร้าง .....
จะเป็นอย่างไร และปฏิบัติอย่างไร ผู้รับเหมา จัดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จัดให้มีรางระบายน้ำ จัดให้คนงานอยู่อย่างไม่แออัด

9 หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์

10 เรื่องที่อาจจะพบได้....

11 วัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ในการรักษาสภาวะ ความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ ของประชาชนในท้องถิ่น หรือ เพื่อป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคที่ เกิดจากสัตว์

12 ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น ราชการ ส่วนท้องถิ่น
(ม. 29) ราชการ ส่วนท้องถิ่น กำหนดให้ส่วนใดของพื้นที่หรือทั้งหมด เป็นเขตควบคุมการเลี้ยง /ปล่อยสัตว์ เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิดโดยเด็ดขาด เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิด เกินกว่าจำนวน ที่กำหนด 3) เขตให้เลี้ยงหรือปล่อยสัตว์บางชนิด โดย ต้องอยู่ ภายใต้มาตรการอย่างใดอย่างหนึ่ง

13 เขตควบคุมซึ่งเป็นที่หรือทางสาธารณะ
(ม.30) จพง.ท้องถิ่นมีอำนาจกักสัตว์ ที่ไม่ปรากฏเจ้าของได้เป็นเวลา 30 วัน เจ้าของมารับ ภายใน 30 วัน ไม่มีผู้ใด มารับ เกิดอันตรายต่อสัตว์อื่น/ เสียค่าใช้จ่ายเกินสมควร กรณีที่สัตว์ นั้นเป็น โรคติดต่อ เจ้าของเสีย * ค่าเลี้ยงดู * ค่าปรับ ตกเป็นของ ราชการ ส่วนท้องถิ่น ขาย/ขายทอด ตลาดได้ ทำลายหรือจัดการ ตามสมควร หักเงินค่าใช้จ่าย เก็บเงินส่วนเหลือเป็นเวลา 30 วัน แทนสัตว์ มีเจ้าของมารับ ให้มอบเงิน ส่วนที่เหลือจากค่าปรับ ไม่มีผู้ใดมารับให้เงินนั้นตกเป็น ของราชการส่วนท้องถิ่น

14 ประเด็นพิจารณา กรณี เลี้ยงไก่ ..... ไม่ให้เกิดปัญหาเหตุรำคาญ
กรณี เลี้ยงสุกร ทำให้เป็นไปตามกฎหมายในหมวดนี้ กรณี เลี้ยงสุนัข จะทำให้ไม่เกิดโรคอย่างไร

15 ขอให้พบแต่เรื่องหมูๆ นะครับ....
สวัสดี....


ดาวน์โหลด ppt สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google