ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTaweerat Limthongkul ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
โดย มูลนิธิถันยรักษ์ในพระราชูปถัมภ์ของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย สภากาชาดไทย สปสช. และภาคเอกชน
3
มูลนิธิถันยรักษ์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
4
มูลนิธิถันยรักษ์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
7
Why Breast Cancer is spreading around the world?
สตรีประมาณ 1 ล้านรายที่เป็นมะเร็งเต้านม ในทุกปี จำนวนดังกล่าว เป็นผู้ป่วยใหม่ 5 แสนคน และจำนวนที่เหลือ คือผู้ที่เสียชีวิตในทุกๆปี ในปี 2534 สตรีอเมริกัน 1 ใน 10 ตายจากโรคมะเร็งเต้านม ในปี 2550 สตรีอเมริกัน 1 ใน 8 ตายจากมะเร็งเต้านม ในปี % ในประเทศกำลังพัฒนา 50% ของสตรีอเมริกัน ค้นพบการเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 น้อยกว่า 10% ของสตรีในประเทศกำลังพัฒนา ค้นพบการเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 Soon Time Magazine – ทำไม ? มะเร็งเต้านมจึงยังคงเป็นปัญหาของสตรีจำนวนมาก
13
ธรรมชาติของมะเร็งเต้านม
* 90% ตรวจพบก้อน -คลำก้อนได้ขนาดต้องใหญ่กว่า 1 ซม. ถ้าพบก้อน % เป็น มะเร็งเต้านม * 10% เป็นการเปลี่ยนแปลงของเต้านม ผิวหนัง บุ๋ม หรือ นูน หัวนมบุ๋ม ถ้าพบเลือดออกจากหัวนม 15 % เป็นมะเร็ง มะเร็งเต้านมมีความรุนแรงเพราะ 80 % เป็นมะเร็งท่อน้ำนม (Invasive Ductal Carcinoma) อันตราย เพราะก้อนไม่เจ็บ – ไว้ค่อยพบหมอ หรือ หมอบอกว่า มีก้อนแต่ ขอทำธุระก่อน เลย เอวัง
14
วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม VBE : Volunteer Breast Exam.
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง Breast self examination: BSE การตรวจยืนยันโดยเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ Clinical breast examination: CBE การใช้เครื่องมือ Ultrasound Mammography Analog Digital MRI ประเทศไทย มี VBE : Volunteer Breast Exam.
15
เรื่องราวเกี่ยวกับ Mammogram
ความแตกต่าง - Analog เก็บเป็นแผ่นฟิล์ม (film) - Digital เก็บเป็น file เชื่อมโยงข้อมูลได้ การใช้ - คัดกรอง Screening Mammogram - วินิจฉัย Diagnostic Mammogram ข้อดี ถ้ามีก้อน Mammogram จะตรวจพบได้ 85 % ข้อจำกัด ใช้ได้ดีในสตรีอายุ > 40 ปี U.S. แนะให้คัดกรองทุก 2 ปี ข้อควรระวัง 1 ใน 3 ของมะเร็งในคนตะวันออกอายุน้อยกว่า 40 ปี
16
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
10 กว่าปีก่อน ประเทศไทยดำเนินการโดยกรมอนามัยและมูลนิธิถันยรักษ์ ด้วยหวังว่าจะพบก้อน หรือ การเปลี่ยนแปลงเต้านมได้เร็วขึ้น ช่วยสตรีไทยให้ปลอดภัยจากมะเร็งเต้านม ได้มากขึ้น 10 กว่าปีผ่านไป ไม่มีความหวังอะไรเลย พ.ศ BSE ไม่ได้รับการบรรจุอยู่ในตัวชี้วัดการตรวจราชการ สธ. และทำไปก็ไม่ได้เงินจาก สปสช. เริ่มมีหน่วยคัดกรอง (Mobile mammogram) เป็นเครื่องมือเชิงธุรกิจ ติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ รับทำ Mammogram โดยไม่รับประกันคุณภาพ ทำให้คนไทยรู้จักมะเร็งเต้านมควบคู่ไปกับMammogram
17
อันตรายของการคัดกรองโดย
SCREENING MAMMOGRAM FALSE NEGATIVE RESULTS 20% มีก้อน บอกว่าไม่มีเลยนึกว่าไม่เป็นไร ช้าไปเมื่อพบแพทย์ 2. FALSE POSITIVE RESULTS ไม่มีก้อน บอกว่ามี รู้สึกกังวล เลยต้องค้นหา ทำให้เสียเวลา เสียเงิน 3. RADIATION EXPOSURE ได้รับรังสีโดยไม่จำเป็น
18
สถานการณ์ BSE ทั่วโลก หลักฐานของประสิทธิภาพแตกต่างกันมาก
Russia & China - no beneficial effects ให้พยาบาลสอนBSE สาวโรงงาน 2 กลุ่ม ๆ ละสองแสนคน U.S. National Cancer Institute recommend High quality screening mammogram with CBE แต่สตรีอเมริกันส่วนใหญ่ตรวจเต้านมด้วยตนเอง U.S. มี mam. หกหมื่นเครื่อง ตรวจได้ 75%ของเป้าหมาย U.K. – same as U.S. Canada – อัตราตายลดลงในกลุ่มที่ทำ BSE คุณภาพ การตรวจร่างกายพบ ได้ 20 % ของคนเป็นมะเร็งเต้านม
19
สถานการณ์ BSE ประเทศไทย
* จากรายงานการตรวจเต้านมด้วยตนเองส่วนใหญ่60-80% จากการตรวจสอบ BSE ที่มีคุณภาพ % * ความมุ่งหวังครั้งนี้การตรวจเต้านมด้วยตนเองที่มีคุณภาพ (ถูกต้องและสม่ำเสมอ)มากกว่า 80 %ในพื้นที่ควบคุมได้ ที่ผ่านมา BSE ไม่มีการควบคุมคุณภาพ จึงดูเหมือนไม่มีประสิทธิภาพ แต่ ถ้าประเทศไทย สามารถทำให้ BSE มีคุณภาพ อาจเป็นแรงบันดาลใจให้ * สตรีไทยตรวจเต้านมด้วยตนเองมากขึ้น และคุณภาพดีขึ้น * สตรีประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ มีทางเลือกมากขึ้น
20
โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า
ต้านภัยมะเร็งเต้านม เป้าหมาย สตรีไทยอายุ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างมี คุณภาพมากกว่า 80 %ในพื้นที่ควบคุมได้ วิธีการ 1. ให้ความรู้สตรีเพื่อทำ BSE คุณภาพ และบันทึกลงสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2 . อบรม อสม.ชช. เป็นผู้ติดตาม ยืนยันและบันทึกลงสมุดบันทึก 3. รับรองโดย จนท.ที่ รพสต. และ บันทึกลงในโปรแกรม 4. จนท.ผู้ชำนาญระดับอำเภอ รับรองและวิเคราะห์ข้อมูล 5. ใช้ Ultrasound ที่ รพช. แยกว่ามีก้อน? เป็นซีส? ขอบเรียบ หรือขรุขระ ? และเชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ถันยรักษ์ 6. ใช้ DIGITAL MAMMOGRAM ที่ รพศ. เป็นลำดับแรก ตาม ด้วยรพท. พร้อมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ถันยรักษ์ 7. กำหนดพื้นที่ในการติดตามเป็นจังหวัดและอำเภอ
21
การกำหนดพื้นที่เพื่อการติดตาม ตามเขตตรวจราชการ
การกำหนดพื้นที่เพื่อการติดตาม ตามเขตตรวจราชการ เขต จังหวัด 1 อยุธยา 7 พังงา 13 อุบลราชธานี 2 ลพบุรี 8 สงขลา 14 นครราชสีมา* 3 นครนายก 9 จันทบุรี * 15 เชียงใหม่ 4 ราชบุรี 10 หนองบัวลำภู 16 เชียงราย* 5 สมุทรสงคราม 11 สกลนคร 17 พิษณุโลก 6 สุราษฎร์ธานี* 12 ร้อยเอ็ด 18 นครสวรรค์ * จังหวัดที่ดำเนินการเต็มพื้นที่ กิจกรรมสำคัญ – จังหวัดมีการแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการเป็นประธาน นายกเหล่ากาชาดเป็นรองประธาน นายแพทย์สสจ. เป็น ก.ก.และเลขานุการ และมี คณะกก. จากหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการ
22
การประเมินผลและความคาดหวัง
การประเมินผลโดยเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ก่อนและหลังโครงการ 2. ความคาดหวัง 2.1 ระดับอำเภอ - BSE คุณภาพมากกว่า 80% ใน 2 ปี 2.2 ระดับจังหวัด - BSE > 80 % ทุกอำเภอ ใน 3 ปี 2.3 ขนาดของก้อน และ ระยะของโรค(Staging) เมื่อแรกพบลดลงใน 5 ปี 2.4 อัตราตาย (M.R.) ลดลงใน 10 ปี 2.5 สตรีอายุ ปี ทั่วประเทศ ทำ BSE คุณภาพ
23
ขั้นตอนการดำเนินงาน การกำหนดพื้นที่ และข้อมูลขั้นต้น มีค.-พค.2555
การกำหนดพื้นที่ และข้อมูลขั้นต้น มีค.-พค.2555 การประชุมระดับผู้บริหาร พค.2555 (Soft Opening) อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา 3. การสนับสนุนสื่อ มิย.2555 การอบรม อสม.ชช.และเจ้าหน้าที่ โดยจังหวัด มิย.-ก.ย.2555 การอบรมพยาบาล/แพทย์ โดยศูนย์ถันยรักษ์ การเตรียมความพร้อมของพื้นที่ ก.ย. 2555 7. การรณรงค์โครงการทุกพื้นที่ ต.ค. 2555 (Grand Opening)
24
การติดตามระยะยาว Long Term Follow up
ทุกเดือน –การทำ BSE ถูกต้องและสม่ำเสมอ ของกลุ่มเป้าหมายจากสมุดบันทึกการตรวจ เต้านมด้วยตนเอง - ความเอาใจใส่และยืนยัน BSE โดย อสม.ชช. จากสมุดบันทึก ทุก 3 เดือน - การรับรองผลการตรวจ ส่งต่อ ? การรับรอง โดย จนท.รพสต. บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม - การสรุปผลและวิเคราะห์ โดย จนท. รพสต.
25
ทุก 6 เดือน - รวบรวมและสรุปผลโดยจนท.
ระดับจังหวัดและ key ข้อมูล เพิ่มเติมเมื่อมีการส่งต่อหรือส่งกลับ ทุก 1 ปี รวบรวมและสรุปผลโครงการโดย กระทรวงสาธารณสุขและมูลนิธิ ถันยรักษ์ฯ ทุก 5 ปี เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ก่อนและหลังโครงการ พบก้อน ? ขนาด ? ระยะของโรค เมื่อเริ่มพบ ? ครบ 10 ปี - อัตราตาย ?
26
ระบบตรวจสอบและรับรอง
โดยศูนย์วิชาการเขต (กรมอนามัย โดย ศูนย์อนามัย กรมการแพทย์ โดยศูนย์มะเร็ง) 1. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญและรับรองเป็น ผู้ตรวจสอบ โดยมูลนิธิถันยรักษ์ 2. ตรวจสอบและให้การรับรองระดับอำเภอโดย จังหวัดและศูนย์เขต 3. รับรองผลระดับจังหวัด โดยมูลนิธิถันยรักษ์ และกระทรวงสาธารณสุข
27
การสนับสนุนสู่ความสำเร็จ
1. สตรีอายุ ปี สมุดบันทึกฯทุกคน + DVD บางคน 2. อสม.ช./ผู้นำสตรี สมุดบันทึกฯ, DVD ,ภาพพลิก, โปสเตอร์ 3. จนท.รพสต DVD โปสเตอร์ หุ่นเต้านม รพสต. พี่เลี้ยง 4. จนท.ผู้เชี่ยวชาญ หุ่นเต้านม และสื่อทุกชนิด ระดับอำเภอ 5. แพทย์และTechnician ฝึกอบรม Ultrasound ที่รพช./รพท./รพศ. เชื่อมโยงข้อมูลกับ ศูนย์ถันยรักษ์ 6. แพทย์ &Technician ฝึกอบรม Digital Mammogram ที่รพศ./รพท เชื่อมโยงข้อมูลกับศูนย์ถันยรักษ์
28
แต่งานวิจัยไม่ใช่ความหวัง
ฝันหวานกับงานวิจัย การติดตามระยะยาว 10 ปี ในจำนวนประชากร 2,000,000 คน เป็นเรื่องยิ่งใหญ่ของการวิจัย แต่งานวิจัยไม่ใช่ความหวัง หากเป็นการรวมพลังที่มีประโยชน์ เพื่อสตรีไทย พ้นภัยมะเร็งเต้านมตามพระราชปณิธานสมเด็จย่า
29
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
B = Best S = Simple E = Effort
32
“ตั้งแต่วันที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสวรรคต ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2538 จนถึงวันถวายพระเพลิงพระบรมศพ 9-14 มีนาคม 2539 ชาวบ้าน ชาวกรุง ชาวเขา เด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา ได้มาถวายสักการะพระบรมศพโดยไม่เว้นวัน ไม่ว่าแดดจะร้อนและฝนจะตกจนน้ำท่วม ข้าพเจ้าเห็นว่าไม่น่าจะให้พลังมหาศาลที่แสดงถึงความจงรักภักดี ความรักและความบริสุทธิ์ หมดไปจากแผ่นดินโดยไร้ประโยชน์ “ ส่งเสด็จสมเด็จย่า พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
33
“ เราก็เหมือนเด็กน้อย ๆในภาพ เมื่อสวดมนต์เราก็
ระลึกถึงพระเมตตาของสมเด็จย่า และความจงรักภักดีที่เรามีต่อพระองค์ ”
34
ถึงจากไป คนไทย ยังรักท่าน ช่วยสืบสาน ปณิธาน สมเด็จย่า
ถึงจากไป คนไทย ยังรักท่าน ช่วยสืบสาน ปณิธาน สมเด็จย่า ภัยมะเร็ง เต้านม สั่งสมมา หยุดยั้งได้ ด้วยศรัทธา ย่าของเรา วัลลภ ไทยเหนือ 28 พฤษภาคม 2555
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.