งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553
ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดย ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เอกสารประกอบการประชุมติดตามผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณไตรมาสที่ 1 ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 20 – 21 มกราคม 2553 ณ ฮิลล์ไซด์คันทรีโฮมกอล์ฟแอนด์รีสอร์ท จังหวัดปราจีนบุรี

2 งบประมาณโครงการที่ได้รับ ปี 2553 รวมทั้งสิ้น 17.98 ล้านบาท
งบประมาณโครงการที่ได้รับ ปี รวมทั้งสิ้น ล้านบาท P1 เสริมสร้างมาตรการลดปัจจัยเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ล้านบาท P2 พัฒนาระบบบริหารจัดการและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง สธ. (PHER) 0.54 ล้านบาท P3 ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการฯ ล้านบาท P5 พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังข่าวกรองฯ ล้านบาท P7 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร ล้านบาท P8 แก้ไขปัญหามลพิษและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต จ.ระยอง ล้านบาท

3 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553
ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553

4 สรุปการใช้จ่ายงบประมาณไตรมาสที่ 1
ประเภทงบ งบประมาณได้รับ เบิกจ่าย คิดเป็นร้อยละ 1. งบบุคลากร 30.92 7.39 23.90 2. งบดำเนินงาน 18.98 1.82 9.59 3. งบรายจ่ายอื่น (วิจัย) 0.72 รวม 50.62 9.21 18.19 *** หน่วยนับ เป็นล้านบาท

5 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามประเภทงบประมาณ
ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามประเภทงบประมาณ

6 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามผลผลิต
ผลการใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกตามผลผลิต

7 ผลการใช้จ่ายงบดำเนินงาน

8 ผลการใช้จ่ายงบดำเนินงานโครงการ จำแนกตามโครงการหลัก (P)

9 ผลการใช้จ่ายงบบุคลากรจำแนกตามผลผลิต

10 ผลการใช้จ่ายงบดำเนินงานจำแนกตามผลผลิต

11 ผลการดำเนินงาน โครงการสำคัญ ในไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553
ผลการดำเนินงาน โครงการสำคัญ ในไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2553

12 โครงการพัฒนาการเฝ้าระวัง ความเสี่ยงในการทำงานของ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ ปี 2553 1. จัดทำร่างคู่มือการให้บริการฯ ของ PCU 2. จัดทำร่างแบบประเมินความเสี่ยงฯ แบบรายงานสถานการณ์ฯ 3. จัดทำแผนการนิเทศติดตามงาน สคร. 4. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงาน และใช้เครื่องมือประเมินความเสี่ยงฯ

13 โครงการพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพเพื่อ
เฝ้าระวังโรคจากการทำงานใน กลุ่มบุคลากรในโรงพยาบาล 1. สรุปผลตรวจประเมินฯ รพ. ของปี 2552 (ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 1 ขึ้นไป 84.17%) 2. ประสานการบูรณาการเกณฑ์ประเมินผลฯ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และปรับเข้า กระบวนการ HA 3. คัดเลือก รพ.เป้าหมายเพื่อพัฒนาการ จัดบริการอาชีวอนามัย

14 โครงการพัฒนาการดำเนินงาน
เฝ้าระวังและจัดการปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม จัดประชุมการจัดทำแนวทางการจัดการข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพจาสิ่งแวดล้อม 2. ร่างแนวทางการจัดการข้อมูลผลกระทบ ต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม 3. สรุปสถานการณ์และข้อมูลเพื่อคืนข้อมูล ให้ชุมชน

15 โครงการแก้ไขปัญหามลพิษและ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตจังหวัดระยอง
จัดทำแผนยุทธศาสตร์ชุมชน (SLM) แก้ไข ปัญหามลพิษกรณีมาบตาพุด 2. ประสานแผนบูรณาการงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ จ.ระยอง

16 ผลงานที่สำคัญอื่นๆ จัดประชุมคณะกรรมการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (24 ธ.ค. 52) จัดประชุม The Second Asian Asbestos Initiative International Seminar , Thailand 2009 (21 – 23 ธ.ค. 52) 3. จัดตั้งทีม PHER/SRRT Env.-Occ. 4. คณะทำงานเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาสุขภาพกรณีบ่อขยะ จ.สระบุรี 5. สอบสวนโรค : สารเคมีรั่ว ท่าเรือแหลมฉบัง

17 แผนการดำเนินงาน ในไตรมาสต่อไป

18 สนับสนุนติดตามการดำเนินงาน, เทคนิควิชาการ จัดทำแนวทางสนับสนุนเครือข่าย
จัดพิมพ์และสนับสนุนแบบประเมิน ความเสี่ยงฯ , คู่มือแนวทางเฝ้าระวังฯ วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน , สถานการณ์ แรงงาน นอกระบบ บูรณาการเกณฑ์ตรวจประเมินฯ เข้ากับ HPH+ และปรับเข้า HA จัดทำคู่มือ/เอกสารวิชาการ สอบทวน รพ. ที่ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 5 จัดทำแนวทางการดูแลสุขภาพ บุคลากร รพ. จัดทำแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย ใน รพ. , สนับสนุนการดำเนินงาน อาชีว- อนามัย ใน รพ.

19 - จัดทำแนวทางเฝ้าระวังผลกระทบต่อ สุขภาพจากสิ่งแวดล้อม (สารหนู ,
สารอินทรีย์ระเหยง่าย) จัดประชุมวิชาการเฝ้าระวังผลกระทบ ต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม - ประเมินองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร สธ. - จัดการข้อมูล , จัดทำสถานการณ์ , Website สิ่งแวดล้อม

20 จัดทำแนวทางการเฝ้าระวังเชิงรุก จัดทำสถานการณ์ , พัฒนาซอฟท์แวร์
เพื่อการเฝ้าระวังในพื้นที่ จ.ระยอง - ตรวจสุขภาพ และตรวจ Lab พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน/ดัชนีชี้วัด สุขภาพ - พัฒนาการตรวจ Biomarkers พัฒนาศักยภาพแก่ทีม SRRT และบุคลากร สธ. - พัฒนาสื่อสาธารณะและรณรงค์เผยแพร่ - ประเมินผลการดำเนินงาน ปี มาบตาพุด

21 พัฒนาแนวทางป้องกันควบคุมและ แก้ไขปัญหาโรคซิลิโคสิส (การใช้
หน้ากากกันฝุ่น) , พัฒนา รพ.ต้นแบบ , สนับสนุนการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง - พัฒนาแนวทางป้องกันควบคุมและ แก้ไขปัญหาโรคพิษตะกั่ว ศึกษาสถานการณ์การปนเปื้อนแร่ใยหิน ในแป้งฝุ่นโรยตัว พัฒนามาตรฐานดัชนีสุขภาพเพื่อ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคพิษสารเคมี ภาค อุตสาหกรรม

22 จัดทำแผนเตรียมความพร้อม 3 ระยะ จัดทำคู่มือ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ของทีม PHER/SRRT Env.-Occ. จัดตั้งเครือข่าย ซ้อมแผนฯ , สรุปบทเรียน PHER/SRRT จัดทำรายงานสถานการณ์โรคใน พื้นที่เป้าหมาย จัดทำรายงานสถานการณ์ โรค Env.-Occ. พัฒนาแนวทางการสอบสวนโรค สอบสวนโรคภาคสนาม ระบบ เฝ้าระวังฯ

23 แผนการดำเนินงานอื่นๆ
เฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบกรณีสารเคมีคลองเตย ให้บริการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงาน ตรวจสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ และตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ระดับตติยภูมิ แลกเปลี่ยนบุคลากรศึกษางานด้านสารเคมีกับประเทศจีน นิเทศติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ สคร. พัฒนาสื่อสาธารณะและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ พัฒนาแผนกลยุทธ์และประเมินผล PMS , ประเมินและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร เสริมสร้างค่านิยมองค์กร , ความผาสุก , KM , PMQA

24 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
ได้รับอนุมัติโครงการล่าช้า ทำให้ไม่สามารถ เบิกจ่ายงบประมาณได้ 2. การขาดแคลนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางฯ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 3. การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านโรคและ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมยังไม่ครอบคลุม 4. ความล่าช้าในการประสานการดำเนินงาน ระหว่างหน่วยงานส่วนกลางและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่ เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน

25 ขอบพระคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google