ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กฏหมายกับสังคมสมัยใหม่ 176100
ผู้สอน – นัทมน คงเจริญ เอกสารประกอบการเรียน (หลังจากการบรรยายในแต่ละสัปดาห์) โพสไว้ให้ที่: ในแถบซ้ายมือ e-document for student วันนี้จะทำความเข้าใจ: outline ของเนื้อหาวิชาสำหรับหลังสอบกลางภาค เชื่อมโยง จากก่อนสอบกลางภาค 1 Introduction
2
หลังสอบกลางภาค เราจะเรียนอะไรกันบ้าง Subject of Law
เนื้อหาของวิชา เรียนอะไรมาแล้วบ้าง Modern State & People Justice & Punishment Gender หลังสอบกลางภาค เราจะเรียนอะไรกันบ้าง Subject of Law Belief & Tradition & Culture Technology & Globalization 1 Introduction
3
Outline เวลา หัวข้อ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนมีนาคม Subject of Law
ผู้ทรงสิทธิ์ บุคคลในสายตาของกฎหมาย สัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมีนาคม Belief & Religion ความเชื่อ และศาส่นา สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมีนาคม ความเชื่อ และศาส่นา (ต่อ) สัปดาห์ที่ 1 ของเดือนเมษายน Tradition จารีตประเพณี สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนเมษายน (หยุดสัปดาห์สงกรานต์) Culture วัฒนธรรม สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนเมษายน Technology เทคโนโลยี สัปดาห์ที่ 5 ของเดือนเมษายน Globalization โลกาภิวัตน์ 1 Introduction
4
เนื้อหาของวิชา Law and Modern World
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจถึงแนวความคิดสำคัญในยุคสมัยใหม่อันเป็นรากฐานของระบบกฎหมายที่ดำรงอยู่ในโลกยุคปัจจุบัน การทำความเข้าในนี้ จะพิจารณาจากแนวคิดพื้นฐาน, สถาบัน และกลไกที่สำคัญ ที่สร้างระบบกฎหมายในสังคม สังคมสมัยใหม่ เริ่มจากการสิ้นสุดของยุคกลางในยุโรป หรือประมาณหลังศตวรรษที่ 15 ที่สร้างแนวคิดต่างๆในสังคมใหม่ สืบเนื่องมาถึงในปัจจุบัน 1 Introduction
5
มีอยู่สองเรื่องที่เราจะทำความเข้าใจก่อน 1. อะไรคือกฎหมาย?
2. อะไรคือสังคมสมัยใหม่ “Modern” ? ในเรื่องของกฎหมาย โดยทั่วไป เราเข้าใจกันว่ากฎหมายคือคำสั่งของรัฐ “กฎหมายคือคำสั่ง คำบัญชาของรัฐาธิปัตย์ ที่ผู้ฝ่าฝืนต้องถูกลงโทษ” แต่ในที่นี้จะเริ่มจากการเข้าใจกฎหมายในความหมายอย่างกว้าง เช่นกฎหมายในระบบกฎหมายแบบจารีตประเพณี กฎหมายในแต่ละช่วงเวลามีความแตกต่างกัน กฎหมายก็เกิดขึ้นจากผู้คนในสังคมที่คิดและออกแบบกฎหมายนั้นขึ้นมา ดังนั้นจึงสำคัญว่าพวกเราคิดอย่างไร และเข้าใจกฎหมายในโลกสมัยใหม่นี้อย่างไร 1 Introduction
6
ความแตกต่างนี้เป็นผลมาจากฐานความคิดที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างอดีตกับสมัยใหม่
ความเปลี่ยนแปลงนี้อาจเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป หรืออาจเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว ในกรณีที่เกิดการปะทะกันของความคิดที่ต่างกันอย่างมาก วิชานี้ต้องการอธิบายถึงความคิดที่มีผลกระทบต่อระบบกฎหมาย และกลายเป็นฐานความคิดที่สำคัญของโลกในห้วงเวลาปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ยังมีกฎหมายที่มีลักษณะซึ่งแตกต่างกันดำรงอยู่ในช่วงเวลาปัจจุบัน เช่น การลงโทษแบบโหดเหี้ยมยังมีอยู่ 1 Introduction
7
What is Modern World? 1 Introduction
8
การเกิดในสังคมยุคก่อน/สมัยใหม่
1 Introduction
9
ผลของยุคสมัยใหม่ที่สำคัญ 4 แนวทาง แนวคิดมนุษยนิยม Humanism
โลกภายหลังศตวรรษที่ 15 – 16 ของยุโรป มีการเปลี่ยนแปลงทางความคิดที่สำคัญเกิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลกระทบต่อระบบความรู้ การเมือง ระบบกฎหมาย อย่างสำคัญ กลายเป็นสภาวะของโลกสมัยใหม่ (Modern World) ผลของยุคสมัยใหม่ที่สำคัญ 4 แนวทาง แนวคิดมนุษยนิยม Humanism แนวคิดในการหาความรู้ วิทยาการ Sciences แนวคิดเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตย Sovereignty แนวคิดเกี่ยวกับเสรีภาพ Liberalism 1 Introduction
10
I. Humanism แนวความคิดมนุษย์นิยม (Humanism)
ก่อนหน้าศตวรรษที่ 15 คำอธิบายเรื่อง Original Sin (บาปกำเนิด)ระบบการเมืองการปกครองเป็นไปเพื่อนำมนุษย์กลับสู่ดินแดนของ God 1 Introduction
11
I. Humanism (ต่อ) มนุษย์มีคุณค่าและมีความสามารถในการพัฒนาตนเองสู่สิ่งที่ดีกว่า ก้าวหน้ากว่า ในทางการเมืองมีแนวคิด Social Contract 1 Introduction
12
มนุษย์มีเหตุผลและความสำนึกผิดชอบ ชั่วดี
การกระทำของคน 1 Introduction
13
II. Sciences การแผ่อำนาจของความคิดแบบวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ – ประสบการณ์นิยม เบียดขับความรู้ของศาสนาคริสต์ เช่น กำเนิดของจักรวาล โลก มนุษย์ ระบบความรู้ที่ดำรงอยู่ในโลกปัจจุบัน 1 Introduction
14
การอธิบายถึงปรากฎการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
1 Introduction
15
แทนคำอธิบายที่เคยเชื่อตามกันมา
1 Introduction
16
III. Sovereignty อำนาจอธิปไตย (Sovereignty)
อำนาจสูงสุดเหนือประชาชนภายในรัฐ ไม่ถูกจำกัดด้วยอำนาจอื่นใด กฎหมายของรัฐมีอำนาจสูงสุด รัฐที่มีอำนาจอธิปไตยเป็นของตนเอง แสดงออกโดยการออกกฎหมายเป็นการแยกออกจากอำนาจในการควบคุมของศาสนจักร 1 Introduction
17
การปกครองตามแนวคิดตะวันตก
1 Introduction
18
IV. Liberalism แนวความคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (หลัง ศ. 17)
ระบบตลาด เป็นกลไกในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด รัฐไม่ควรเข้ามายุ่งเกี่ยว (laissez-faire) มนุษย์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ Homo Economicus คำนวณถึงผลได้เสียของการกระทำต่างๆ ก่อนตัดสินใจ และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล 1 Introduction
19
พวกเรามีความคิดเห็นอย่างไรต่อเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้นรอบๆตัว ในฐานะที่เป็นผู้มีส่วนกำหนดกฎเกณฑ์ของสังคม เราควรจะคิดถึงกฎต่างๆอย่างไรบ้าง? 1 Introduction
20
The End ☃ 1 Introduction
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.