ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKwaanfah Nitpattanasai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ปีงบประมาณ 2558 นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ)
2
คณะกรรมการ นายเกียรติภูมิ วงศ์รจิต ผู้ตรวจราชการกระทรวง ประธาน
นายเกียรติภูมิ วงศ์รจิต ผู้ตรวจราชการกระทรวง ประธาน นายไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ รองประธาน นางสาวยุพิน ตันวิสุทธิ์ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบ คุณธรรม นางอมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ นายเสมอ กาฬภักดี นางสาวศิญาภัสส์ จำรัสอภิวัฒน์ นายเกตุแก้ว แก้วใส นางนฬญา ดำรงคะวิริยะพันธ์ กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. นางสาวสุณีพร แดงภูมิ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม นางกฤตยา กัลอาจ นางกัลยา เนติประวัติ สถาบันพระบรมราชชนก นางสาวกาญจน์นภา แก้วคง นส.อลิสา ศิริเวชสุนทร นางดารนี คำพีระ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ นส.วราภร จันทร์โชติ นางสุภวาร มะนิมนากร นางภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ สำนักบริหารการสาธารณสุข นางวิระมณ สุริยะไชย ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต นส.ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง นส. สุชาฎา วรินทร์เวช นางพจอาภา ธนาบุญพัส กลุ่มคลังและพัสดุ นางสาวลาวัลย์ สุขุมวาท สำนักตรวจและประเมินผล นางธิติภัทร คูหา นส. อังคณา จรรยากุลวงศ์ นส.สุภาวดี เพ็ชร์สว่าง นส. สิรินันท์ พานพิศ นางอรชร วิชัยคำ
3
ประเด็นตรวจราชการ 1. การบริหารการเงินการคลัง
2.การบริหารจัดการด้านยา และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3. ธรรมาภิบาล : การส่งเสริมป้องกัน การทุจริต ประพฤติมิชอบ การป้องปรามตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ การแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ
4
1. การบริหารการเงินการคลัง
การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพคล่องทางการเงิน “ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่” การควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม “หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ ในระดับผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน รวมทุกสิทธิ ต่อหน่วยน้ำหนัก”
5
1.1 การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพคล่องทางการเงิน
ผลลัพธ์ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ การจัดสรรงบค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ การพัฒนา ควบคุมกำกับให้หน่วยบริการมีการบริหารการเงินการคลัง จนไม่ประสบปัญหาทางการเงิน เป้าหมาย รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง มาตรการดำเนินงาน หน่วยบริการจะต้องมีแผนการดำเนินงานเพื่อปรับ ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน พัฒนาข้อมูลบัญชีให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ การตรวจ ติดตาม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของ รพ. มีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ (ผ่านจังหวัด ,เขตอนุมัติ) มีการพัฒนาบัญชีผ่านเกณฑ์คุณภาพ มีการรายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารทราบทุกเดือน มีการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้เกณฑ์ประเมิน FAI
6
1.2 การควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม
ผลลัพธ์ หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการในระดับผู้ป่วยนอก (OPD) และผู้ป่วยใน (IPD) รวมทุกสิทธิ (total cost) ต่อหน่วยน้ำหนัก เป้าหมาย รพศ.รพท. และ รพช. ทุกแห่ง มาตรการ ส่งข้อมูลบริการService data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน การจัดการระบบบริการเพื่อให้มีต้นทุนบริการลดลง การควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในหมวดต่างๆ ได้แก่ Labor cost ,Material cost, Capital cost,Operating cost การตรวจ ติดตาม มีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit cost แบบ Quick Method มีการรายงานต้นทุนUnitCost แบบ Quick method ให้ผู้บริหารได้รับทราบทุกเดือน มีต้นทุน OPD , IPD ไม่สูงกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส ได้นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการ
7
2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม
ผลลัพธ์ การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา มีประสิทธิภาพ ดำเนินการกำกับติดตามประเมินผล อย่างเป็นระบบ โปร่งใส สอดคล้องตามระเบียบกำหนด ต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของหน่วยงานต่อผู้ป่วยลดลง และการใช้ยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาเหมาะสมในหน่วยบริการแต่ละระดับ เป้าหมาย หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ควบคุมกำกับโดย สสจ เขต และหัวหน้าส่วนราชการ
8
2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม
มาตรการดำเนินงาน การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2557 การสั่งใช้และการใช้ อย่างสมเหตุผล จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อ จัดหา และส่งเสริมการขาย การควบคุมต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การรายงานและการควบคุมกำกับการบริหารจัดการ การตรวจ ติดตาม มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ทุกระดับ มีระบบการกำกับประเมินการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (Utilization Evaluation) มีแนวปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม มีระบบควบคุมกำกับต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ฯ มีการรายงาน และประเมิน ผลการดำเนินงานตาม ลำดับชั้น ในเวลาที่กำหนด
9
การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
3. ธรรมาภิบาล : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 3.1 ด้านการส่งเสริมป้องกัน 3.2 ด้านการป้องปรามตรวจสอบ 3.3 ด้านการแก้ไข
10
ธรรมาภิบาล : 3.1 การส่งเสริมป้องกัน
3.1.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป.ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด 3.1.2 การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม
11
ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการดำเนินงาน การตรวจ ติดตาม
3.1.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด ผลลัพธ์ บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. ได้รับการเสริมสร้างและพัฒนาให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด เป้าหมาย หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (สสจ.รพศ.รพท.) มาตรการดำเนินงาน หน่วยงานมีแผนและดำเนินการเสริมสร้าง พัฒนา บุคลากรทุกระดับให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด การตรวจ ติดตาม มีการประชุมชี้แจงตัวชี้วัด มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ มีแผนเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด มีการดำเนินการตามแผน มีเอกสารหลักฐานการดำเนินการตามแผน มีรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนและพัฒนาต่อยอด
12
3.1.2 การดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม”
ผลลัพธ์ รพ.คุณธรรม ความครอบคลุม รพ.คุณธรรม ในจังหวัด เป้าหมาย หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (รพศ. รพท. รพช.ระดับ M) มาตรการดำเนินงาน หน่วยงานดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม” ประชุมชี้แจงและแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ จัดทำแผน รพ.คุณธรรม ดำเนินการตามแผน รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผน และมีการพัฒนาต่อยอด การตรวจ ติดตาม ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการ รพ. การทำงานของกรรมการ และแกนนำ/เจ้าหน้าที่ กิจกรรมที่สนับสนุนให้เกิด รพ.คุณธรรม การพัฒนาต่อยอด
13
ความสำเร็จ โรงพยาบาลคุณธรรม
ระดับ ผลการดำเนินการแต่ละขั้นตอนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 1 หน่วยงานประชุมชี้แจงนโยบาย และหาจุดร่วมที่บุคลากรทุกคนตกลงยึดเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม” 2 ดำเนินการระดับ 1 และ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ จัดทำแผนเสริมสร้างการบริหาร และพัฒนา“โรงพยาบาลคุณธรรม” 3 ดำเนินการระดับ 2 และ หน่วยงานดำเนินการตามแผนเสริมสร้างและพัฒนาการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 4 ดำเนินการระดับ 3 และ หน่วยงานผลลัพธ์การดำเนินการพัฒนาหน่วยงานบริการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 5 ดำเนินการระดับ 4 และ หน่วยงานมีการประเมินผลการดำเนินการ และปรับปรุงแผนการบริหาร พัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม”
14
ธรรมาภิบาล : 2) การป้องปราม ตรวจสอบ : การตรวจสอบภายใน
ธรรมาภิบาล : 2) การป้องปราม ตรวจสอบ : การตรวจสอบภายใน ผลลัพธ์ หน่วยงานในสังกัด สป. มีกลไกการตรวจสอบภายในอย่างเป็นรูปธรรม เป้าหมาย ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ระดับจังหวัด มาตรการดำเนินงาน ภาคีฯ ระดับจังหวัด ดำเนินการตรวจสอบภายใน และประเมินระบบการควบคุมภายใน มีกระบวนการติดตามหน่วยงานที่ไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะรายงานการตรวจสอบภายใน การตรวจ ติดตาม มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปี มีการปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน มีการกำกับ ติดตาม สอดคล้องกับนโยบาย สป. มีการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของรายงานการตรวจสอบภายใน มีหลักฐานเชิงประจักษ์การดำเนินการแก้ไข
15
ธรรมาภิบาล : 3) การแก้ไขปัญหา : การแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย ผลลัพธ์ หน่วยงานมีการแก้ไขการบริหารจัดการด้าน การเงิน การคลัง พัสดุ บุคลากร ให้ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ เป็นธรรม เป้าหมาย สสจ. รพศ. รพท. รพช. ที่มีปัญหาปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย มาตรการดำเนินงาน ผู้บริหารและหน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไขปัญหาฯ (ความไม่เป็นธรรมในการแต่งตั้งโยกย้าย เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการเงิน การจัดซื้อจัดจ้าง) การตรวจ ติดตาม หน่วยงานที่มีปัญหาฯ ได้มีการดำเนินการตามมาตรการ ปรับปรุงแก้ไข ลงโทษ ดังนี้ 1. ด้านการลงโทษ ด้านจัดซื้อจัดจ้าง 3. ด้านการเงินและบัญชี ด้านการบริหารบุคคล
16
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.