ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นายปรีชานันท์ อุปละ ม.4/5 เลขที่ 11
ปิโตรเลียม จัดทำโดย นาย นายปรีชานันท์ อุปละ ม.4/5 เลขที่ 11 เสนอ อ.สุธารัตน์ นักลำ
2
ปิโตรเลียม(Petroleum)
หมายถึง น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ มีธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ CabonและHydrogen และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่นกำมะถัน ออกซิเจน เป็นต้น ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
3
การเกิดปิโตรเลียม เกิดจากการทับถมและแปรสภาพของซากสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ยุคก่อนประวัติศาสตร์นับหลายล้าน ถูกทับถมกลายเป็นชั้นหินต่างๆ ผนวกกับความร้อนใต้พิภพและการสลายตัวของอินทรีย์สารตามธรรมชาติ ทำให้ซากพืชและซากสัตว์กลายเป็นน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ
4
แหล่งปิโตรเลียม ประเทศไทยมีการสํารวจพบแหล่งปิโตรเลียมของประเทศแล้ว 79 แหล่ง และทําการผลิตอยู่ 41 แหล่ง โดยแบ่งเป็น แหล่งปิโตรเลียมบนบก 21 แหล่ง ผลิตอยู่ 20 แหล่ง แหล่งปิโตรเลียมในทะเล 58 แหล่ง ผลิตอยู่ 21 แหล่ง
5
แหล่งปิโตรเลียมในไทย
ที่มา:
6
การกลั่นน้ำมันดิบ กระบวนการกลั่นนํ้ามันเชื้อเพลิงประกอบด้วยกระบวนการสําคัญ คือ 1. การกลั่นหรือการแยก(separation) 2. การแปรรูปหรือการเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมี (conversion) 3. การปรับปรุงคุณภาพ(treating) 4. การผสม(blending)
7
การกลั่นน้ำมันดิบ 1. การกลั่นหรือการแยก(separation)
กระบวนการแยกนํ้ามันดิบ คือ การแยกส่วนประกอบของ นํ้ามันดิบทางกายภาพ ส่วนใหญ่แยกโดยวิธีการกลั่นลําดับส่วน (fractional distillation) โดยนํานํ้ามันดิบมากลั่นในหอกลั่นบรรยากาศ น้ำมันดิบจะแยกเป็นนํ้ามันสําเร็จรูปต่างๆที่มีช่วงจุดเดือดต่างกัน
8
การกลั่นน้ำมันดิบ ที่มา:
9
การกลั่นน้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ จุดเดือด(°C) สถานะ จำนวนแก็สCabon
การใช้ประโยชน์ แก๊สปิโตรเลียม < 30 แก๊ส 1 – 4 ทําสารเคมี วัสดุสั งเคราะห์ เชื้อเพลิง แก๊สหุงต้ม แนฟทาเบา 30-110 ของเหลว 5-7 นํ้ามันเบนซิน แนฟทาหนัก 65-170 6-12 นํ้ามันก๊าด 10-19 นํ้ามันก๊าด เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ไอพ่น และตะเกียง นํ้ามันดีเซล 14-19 เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ ดีเซล นํ้ามันหล่อลื่น > 350 19-35 นํ้ามันเครื่อง ไข >500 ของแข็ง >35 เทียนไข เครื่องสําอาง ยาขัดมัน ผงซักฟอก น้ำมันเตา ของเหลวหนืด เชื้อเพลิงเครื่องจักร ยางมะตอย > 500 วัสดุกันซึม ถนน
10
การกลั่นน้ำมันดิบ 2. การแปรรูปหรือการเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมี (conversion) เป็นการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลหรือโครงสร้างเคมี เพื่อให้นํ้ามันมีคุณภาพที่ เหมาะกับการใช้ประโยชน์ได้แก่ 2.1 กระบวนการแตกสลาย(cracking) 2.2 กระบวนการเปลี่ยนสภาพ(reforming) 2.3 กระบวนการรวมโมเลกุล(alkylation และpolymerization)
11
การกลั่นน้ำมันดิบ 2.1 กระบวนการแตกสลาย(cracking)
เป็นการแตกสลายสารประกอบไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ให้เล็กลง โดยอาศัยความร้อนหรือตัวเร่งปฏิกิริยา 2.1.1 Thermal cracking เป็นกระบวนการแตกสลายนํ้ามันดีเซลหรือนํ้ามันเตาโดยใช้ความร้อนสูงประมาณ400 – 500 °C ภายใต้ความดันสูง ได้ผลิตภัณฑ์ คือ ก๊าซส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทolefin
12
การกลั่นน้ำมันดิบ 2.1.2 Catalytic cracking เป็นกระบวนการแตกสลายนํ้ามันดีเซล (gas oil) และนํ้ามันหนัก โดยใช้สารตัวเร่งปฏิกิริยาช่วย ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจเป็นพวกดินเหนียวธรรมชาติ เช่นkaolin, bentoniteหรือพวกดินเหนียวสังเคราะห์ที่ มี ธาตุอะลูมิเนียมสูง หรือใช้synthetic zeolite ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ นํ้ามันเบนซินที่ มี ค่าออกเทนสูงก๊าซไฮโดรคาร์บอนประเภทolefin
13
การกลั่นน้ำมันดิบ 2.2 กระบวนการเปลี่ยนสภาพ(reforming)
เป็นกระบวนการเปลี่ยนสภาพสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งให้เป็น สารไฮโดรคาร์บอนอีกชนิด โดยอาศัยความร้อนหรือตัวเร่งปฏิกิริยา 2.2.1 Thermal reforming ใช้ความร้อนสูงเปลี่ยนลักษณะโครงสร้าง สารไฮโดรคาร์บอนในนํ้ามันเบนซิน
14
การกลั่นน้ำมันดิบ 2.2 กระบวนการเปลี่ยนสภาพ(reforming)
2.2.2 Hydroforming ใช้ไฮโดรเจนและตัวเร่งปฏิกิริยาพวกmolybdenum บนalumina กระบวนการนี้ ช่วยแปรสภาพนํ้ามันเบนซินออกเทนตํ่าให้มีค่าสูงขึ้น 2.2.3 Platforming and catformingใช้ไฮโดรเจนและตัวเร่งปฏิกิริยาพวกPt บนalumina
15
การกลั่นน้ำมันดิบ 2.2 กระบวนการเปลี่ยนสภาพ(reforming)
2.2.4 Catalytic reforming เป็นกระบวนการหลักเพื่อผลิตgasoline ที่มีค่าออกเทนสูงและยังมีบทบาทต่อการผลิตสารอะโรมาติกส์ใน อุตสาหกรรมเคมี
16
การกลั่นน้ำมันดิบ 2.3 กระบวนการรวมโมเลกุล เป็นการจัดรูปโมเลกุลใหม่
2.3.1 Alkylation เป็นกระบวนการผลิตองค์ประกอบของนํ้ามันเบนซิน 2.3.2 Polymerization เพื่อทำให้light olefin จากกระบวนการcracking ต่างๆ เปลี่ยนเป็นไฮโดรคาร์บอนที่ใหญ่ขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.