ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
1. Sequential Circuit and Application
1.1 Overview วงจรควบคุมในระบบไฟฟ้า ดังรูปที่ 1.1 สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนของอินพุท (Input) ส่วนของการตัดสินใจ (Dicision) และส่วนของเอาท์พุท (Output) (a) ส่วนของอินพุท (Input) หน้าที่ของส่วนนี้คือเชื่อมต่อระหว่างวงจรควบคุมกับสิ่งที่อยู่ภายนอกเช่น - Limit Switch - Pressure Switch - Push Button Switch
2
(b) ส่วนของการตัดสินใจ (Decision)
ส่วนนี้เป็นส่วนที่ทำงานทางด้านตรรกะ (Logic) ในส่วนนี้บางครั้งก็เป็นทั้งอินพุทและการตัดสินใจในเวลาเดียวกัน (c) ส่วนของเอาท์พุท (Output) ส่วนของเอาท์พุททำให้เกิดการทำงานขึ้นภายนอกวงจรควบคุมเช่น - Magnetic Contactor - Motor Starter 1.2 Relay Logic Relay Logic เป็นอุปกรณ์ Electromagnetic ซึ่งประกอบด้วย ขดลวด (coil) ทำจากเส้นลวดตัวนำ หุ้มด้วยฉนวนทางไฟฟ้าป้องกันการลัดวงจร เมื่อกระแสไหลผ่านขดลวดจะสร้างสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่งจะดูดหรือผลักส่วนของ armature การเคลื่อนไหวของ armature จะทำให้หน้าสัมผัส (contact) ของ Relay ปิดหรือเปิดออกดังรูปที่ 1.2
4
(a) Term for Relays - Normally open (NO) เป็นรีเลย์ที่ในสภาวะปกติหรือสภาวะที่ยังไม่จ่ายไฟให้coil หน้าสัมผัสเปิดอยู่ แต่เมื่อจ่ายไฟให้coil จะทำให้หน้าสัมผัสปิด - Normally close (NC) เป็นรีเลย์ที่ในสภาวะปกติหรือสภาวะที่ยังไม่จ่ายไฟให้coil หน้าสัมผัสปิดอยู่ แต่เมื่อจ่ายไฟให้coil จะทำให้หน้าสัมผัสเปิด - Picked up เป็นสภาวะที่รีเลย์ถูกจ่ายไฟให้ที่coil - Drop out เป็นสภาวะที่รีเลย์ไม่ถูกจ่ายไฟที่coil (b) ชนิดของรีเลย์ รีเลย์สามารถมีหน้าสัมผัสได้หลายอัน และมีได้ทั้งชนิด NO และ NC ผสมกัน ดังรูปที่ 1.3
5
1.3 Typical Sequential Circuit
Sequential circuit เป็นวงจรควบคุมไฟฟ้าที่มีการตัดสินใจเป็นตรรกะ (Logic) และมีการทำงานเป็นลำดับ (Sequence) รูปที 1.4 เป็นตัวอย่างหนึ่งของ Sequential circuit 1.4 Application : Relay logic in sequential circuit used to control a pneumatic cylinder (กระบอกอากาศ) รูปที่ 1.5 เป็นไดอะแกรมตัวอย่างการใช้งานของ Sequential circuit และรูปที่ 1.6 เป็นรีเลย์ไดอะแก--รมและTiming diagram ของวงจร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.