งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การนำและการจูงใจ Leading & Motivation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การนำและการจูงใจ Leading & Motivation"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การนำและการจูงใจ Leading & Motivation
สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2 สาระการเรียนรู้ 1. การนำ และภาวะผู้นำ 2. การจูงใจในองค์กร
3. อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับคุณลักษณะผู้นำ

3 โคลงโลกนิติ ยามฝูงโคข้ามฟาก              นที                 โคโจกไปตรงดี                   ไป่เคี้ยว                 ฝูงโคล่องวารี                       รีบเร่ง                 ทั้งหมดไป่ลดเลี้ยว              ไต่เต้าตามกัน

4 ความหมายของการนำ (Leading)
การนำ คือ ความสามารถในการใช้ศิละจูงใจให้ผู้อื่นคิดตามหรือปฏิบัติตาม ส่วนความเป็นผู้นำ คือ กระบวนการที่มีอิทธิพลต่อกลุ่มเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม (Robbins and Coulter 2003) การนำ เป็นความสัมพันธ์ของผู้นำและผู้ตาม ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (Draft. 2003)

5

6 ความแตกต่างระหว่างผู้นำกับผู้บริหาร
ผู้นำ เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกปฏิบัติงานด้วยการมุ่งเน้นวิธีการและพยายามทำในสิ่งต่างๆ ให้ถูกต้องในเรื่องต่างๆ (Do Right Thing) ด้วยวิธีการกระตุ้น จูงใจ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้สมาชิกหรือพนักงานนำศักยภาพของตนเองมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างเต็มที่ ผู้บริหาร เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ในการวางแผน จัดระบบ ควบคุม สั่งการจัดหา ประสานงาน และกระจายวัสดุอุปกรณ์ ทรัพยากรมนุษย์ ข้อมูลข่าวสาร อำนาจ เป็นต้น ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานให้สำเร็จลุล่วงตามที่องค์กรกำหนดไว้ ด้วยการมุ่งเน้นที่เป้าหมายของการดำเนินสิ่งต่างๆ ให้ถูกต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น (Do Things Right)

7 ผู้นำกับอำนาจ อำนาจที่เกิดขึ้นตามกฎหมาย อำนาจที่เกิดจากการให้รางวัล
อำนาจในการลงโทษ อำนาจที่เกิดจากการมีข้อมูลข่าวสาร อำนาจที่เกิดจากความเชี่ยวชาญ อำนาจที่เกิดจากการอ้างอิง

8 ผลของการใช้อำนาจ ยอมรับหรือการมีส่วนร่วมเป็นการปฏิบัติตามในสิ่งที่ผู้บังคับบัญชาหรือผู้นำต้องการ หากเกิดผลดังกล่าวถือว่าเป็นสิ่งดีต่อการบริหารจัดการงาน เพราะสิ่งเหล่านั้นจะแสดงออกมาในลักษณะของพนักงานที่ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการปฏิบัติงานและรับผิดชอบหน้าที่ของตนอย่างเต็มที่ การต่อต้านหรือปฏิเสธเป็นการแสดงพฤติกรรมในการไม่ยอมรับอำนาจที่ผู้บริหารหรือผู้นำใช้ในการบริหารจัดการงาน อันส่งผลให้พนักงานไม่ปฏิบัติตามสิ่งที่ผู้บริหารต้องการ จนถึงการละเลยหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบหรือผลการปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพ

9 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
แนวคิดเชิงคุณลักษณะของผู้นำ (Trait Approach) แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Approach) แนวคิดเชิงสถานการณ์ (Situational Approach) แนวคิดเชิงการใช้อำนาจและมีอิทธิพล (Power-Influence Approach)

10 แนวคิดเชิงคุณลักษณะของผู้นำ
ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นำมีพื้นฐานมาจากแนวคิดทฤษฎีมหาบุรุษ (Great Man) เชื่อว่าผู้นำเกิดขึ้นเองธรรมชาติหรือโดยกำเนิด (Born to be Leader) คุณลักษณะผู้นำที่ประสบความสำเร็จต้องมีลักษณะ 4 ประการ สติปัญญา การมีวุฒิภาวะของความเป็นผู้ใหญ่และใจกว้าง ความต้องการบรรลุผลสำเร็จ ความซื่อสัตย์

11 แนวคิดเชิงพฤติกรรม แนวคิดผู้นำของ เลวินและคณะ (Lewin and Friends Studies) แนวคิดความต่อเนื่องของพฤติกรรมผู้นำ (Continuum of Leader Behavior) แนวคิดการศึกษาผู้นำของมหาวิทยาลัยมิชิแกน (University of Michigan Studies) แนวคิดการศึกษาผู้นำของมหาวิทยาลัยโอไฮโอ สเตท (Ohio State Studies) ตาข่ายการบริหารงานของเบรกและมูลตัล (Blake and Moulton’s Managerial Grid)

12 แนวคิดผู้นำของ เลวินและคณะ
ผู้นำที่มีพฤติกรรมเผด็จการ (Autocratic Leadership) ผู้นำที่มีพฤติกรรมประชาธิปไตย (Democratic Leadership) ะ ผู้นำที่มีพฤติกรรมเสรีนิยม (Laissez-faire Leader)

13

14 แนวคิดทฤษฎีความต่อเนื่องของพฤติกรรมผู้นำ
ระดับการใช้อำนาจหน้าที่โดยผู้นำ ขอบเขตความมีอิสระของผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้บริหารตัดสินใจและแจ้งให้ทราบ ผู้บริหารโน้ม น้าวให้ยอมรับ การตัดสินใจ ผู้บริหารเสนอ แนวคิดและเปิด โอกาสให้ถาม ผู้บริหาร ตัดสินใจแต่เปิด โอกาสให้มีการ แก้ไข ผู้บริหารเสนอ ปัญหาและให้ เสนอความ คิดเห็นเพื่อ ตัดสินใจ ผู้บริหารกำหนด ขอบเขตการ ตัดสินใจและให้ กลุ่มทำการ ตัดสินใจ ผู้บริหารให้ ผู้ใต้บังคับบัญชา ทำการตัดสินใจ เองภายใต้ขอบเขต ที่กำหนดให้ ภาวะผู้นำมุ่งเน้นที่ผู้บริหาร ภาวะผู้นำมุ่งเน้นที่ผู้ใต้บังคับบัญชา

15 แนวคิดการศึกษาผู้นำของมหาวิทยาลัยมิชิแกน
ผู้นำที่มุ่งเน้นงาน (Job-Centered Leader) มีลักษณะพฤติกรรมในการมุ่งไปที่การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นสำคัญ เน้นการควบคุมอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเกณฑ์หรือมาตรฐานที่องค์กรกำหนดขึ้น ผู้นำที่มุ่งเน้นคน (Employee-centered leader) มีลักษณะพฤติกรรมที่ให้ความสนใจและความต้องการของผู้บังคับบัญชาเป็นลำดับต้น มีความเชื่อมั่นในความสามารถของพนักงานโดยมอบอำนาจ การตัดสินใจ และส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ

16 แนวคิดการศึกษาผู้นำของมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท
สูง - กิจสัมพันธ์ต่ำ - มิตรสัมพันธ์สูง - กิจสัมพันธ์สูง - มิตรสัมพันธ์ต่ำ - กิจสัมพันธ์ต่ำ - มิตรสัมพันธ์ต่ำ - กิจสัมพันธ์สูง มุ่งงาน มุ่งความสัมพันธ์ ต่ำ

17 ตาข่ายการบริหารงานของเบรคและมูลตัล

18 แนวคิดเชิงสถานการณ์ แนวคิดเชิงสถานการณ์ของฟีดเลอร์ (Fiedler Contingency Model) แนวคิดสถานการณ์ของเฮอร์ซีย์และแบลนชาร์ด (Hersey-Blanchard Situational Leadership Theory) ทฤษฎีผู้นำแบบเส้นทางเป้าหมายของโรเบิร์ต เฮาส์ (Robert J. Hose)

19 แนวคิดเชิงสถานการณ์ของฟีดเลอร์

20 แนวคิดสถานการณ์ของเฮอร์ซีย์และแบลนชาร์ด

21 ทฤษฎีผู้นำแบบเส้นทางเป้าหมายของโรเบิร์ต เฮาส์
ปัจจัยสภาพแวดล้อม - โครงสร้างของงาน - ระบบอำนาจหน้าที่อย่างเป็นทางการ - กลุ่มงาน ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล - ประสบการณ์ - ความรู้ความสามารถ - การควบคุมตนเอง ผลลัพธ์ - ความพึ่งพอใจ - ผลการปฏิบัติงาน พฤติกรรมของผู้นำ - สนับสนุน - สั่งการ - มีส่วนร่วม - มุ่งความสำเร็จ

22 คุณลักษณะผู้นำที่ดี ท่านว.วชิรเมธี
ผู้นำที่ดี คือ ผู้ที่มีศักยภาพในการนำ และคนอื่นอยากเดินตาม กล้าคิด กล้าทำ กล้านำ กล้ารับผิดชอบ

23 การจูงใจ

24 ความหมายการจูงใจ การจูงใจ (Motivation) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า “Movere” แปลว่า เงื่อนไขหรือสภาวะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม 3 ทิศทาง อันได้แก่ การทำให้เกิดพฤติกรรม การยับยั้งพฤติกรรม และการกำหนดแนวทางพฤติกรรมที่แสดงออก การจูงใจ เป็นภาวะในการเพิ่มพฤติกรรมการกระทำกิจกรรมของบุคคลโดยบุคคลจงใจกระทำพฤติกรรมนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ ต้องการ Domjan 1996: 199

25

26 ปัจจัยกำหนดผลการปฏิบัติงาน
ความเต็มใจ ในการ ปฏิบัติ โอกาสใน การปฏิบัติ ความ สามารถใน การปฏิบัติ ผลการปฏิบัติงาน

27 วงจรการจูงใจพนักงาน ความต้องการ ค้นหาทางเพื่อลด ความต้องการ
แสดง พฤติกรรม ประเมินความ ต้องการของตนเอง ให้รางวัล ลงโทษ หรือขจัด กำหนด เป้าหมาย พนัก งาน

28 ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจ
ปัจจัยด้านองค์กร (Organizational Issues) ปัจจัยด้านงาน (Work Issues) ปัจจัยด้านผู้นำ (Leader Issues)

29 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ
กลุ่มทฤษฎีที่เน้นเนื้อหา (Content Theory of Motivation) ทฤษฎีลำดับขั้นของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchical of Need) ทฤษฎีอีอาร์จีของอัลเดอร์เฟอร์ (Alderfer’s ERG Theory) ทฤษฎีสองปัจจัย (Two Factors Theory) ทฤษฎีความต้องการความสำเร็จ (McClellan) กลุ่มทฤษฎีเน้นกระบวนการ (Process Theory of Motivation) ทฤษฎีความเท่าเทียม (Equity theory) ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy theory) ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย (Goal Setting) กลุ่มทฤษฎีที่เน้นแรงเสริม (Reinforcement Theory of Motivation)

30 ทฤษฎีลำดับขั้นของมาสโลว์

31 ทฤษฎีอีอาร์จีของอัลเดอร์เฟอร์

32 ทฤษฎีสองปัจจัย ปัจจัยเกื้อกูล ปัจจัยจูงใจ สภาพแวดล้อมในการทำงาน
ความมั่นคงของชีวิตส่วนตัว ความมั่นคงของงาน นโยบายและการบริหารงาน รูปแบบในการบังคับบัญชา เงินเดือน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา เพื่อน และผู้ใต้บังคับบัญชา ความสำเร็จของงาน ความรับผิดชอบ โอกาสก้าวหน้า การได้รับการยกย่อง งานน่าสนใจมีคุณค่า สถานภาพที่ดี

33 การเปรียบเทียบทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ และทฤษฎี อี.อาร์.จี ของอัลเดอร์เฟอร์ ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ทฤษฎี อี.อาร์.จี ของอัลเดอร์เฟอร์ การเจริญเติบโต สัมพันธภาพ การดำรงชีพ ปัจจัยจูงใจ ความต้องการที่จะประสบความสำเร็จสูงสุด ความต้องการที่จะได้รับการยกย่อง ปัจจัยเพื่อการคงอยู่ ความต้องการทางสังคม ความต้องการในความมั่นคงปลอดภัย ความต้องการทางกายภาพ

34 ทฤษฎีความต้องการความสำเร็จ

35 ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย
รางวัล หรือคุณค่า อารมณ์และ ความต้องการ ความมุ่งหมาย เป้าหมาย สถานการณ์ ความสามารถ ส่วนบุคคล พฤติกรรมการ ปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ ข้อมูลป้อนกลับ

36 ทฤษฎีความคาดหวัง เครื่องมือ ความคาดหวัง ผลลัพธ์ระดับที่ 2 พลังจูงใจ
ผลลัพธ์ระดับที่ 1 ความคาดหวัง ผลลัพธ์ระดับที่ 2

37 ทฤษฎีความเสมอภาค = สิ่งที่ตนทำให้กับ องค์กร
สิ่งที่ผู้อื่นทำให้กับ องค์กร สิ่งที่ตนได้ตอบแทน จากองค์กร สิ่งที่ผู้อื่นได้ตอบแทน จากองค์กร =

38 ทฤษฎีเสริมแรง การเสริมแรงทางบวกเกิดขึ้นจากพฤติกรรมของบุคคลได้รับบางสิ่งบางอย่างที่เป็นสิ่งปรารถนาทั้งเป็นสิ่งที่จับต้องได้ เช่น เงิน หรือในทางจิตวิทยาอาจเกิดจากการได้รับความชื่นชมหรืออาจเกิดขึ้นทั้งสองอย่างก็ได้โดยสิ่งเร้านั้นจะทำให้บุคคลมีพฤติกรรมเพิ่มขึ้น การเสริมแรงทางลบเกิดขึ้นจากผลลัพธ์ของพฤติกรรมถูกการกำจัดสิ่งเร้าที่บุคคลไม่พอใจออกไปแล้วทำให้บุคคลมีพฤติกรรมการกระทำเพิ่มขึ้น

39 ทฤษฎีเสริมแรง การลงโทษเป็นการวางเงื่อนไขด้วยการให้สิ่งเร้าที่ทำให้บุคคลเกิดความกลัวเพื่อลดระดับหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยอาจเกิดขึ้นจากด้านจิตวิทยา สิ่งที่จับต้องได้หรือทั้งสอง รวมทั้งอาจเกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อม ก็ได้ เช่น การตัดค่าจ้างในกรณีที่พนักงานไม่ทำกฎระเบียบที่กำหนดขึ้น การกำจัดเป็นผลมาจากพฤติกรรม ความเชื่อ ความรู้สึก ที่บุคคลประสบในทางลบและส่งผลให้พฤติกรรมที่ประสบเหล่านั้นถูกกำจัดออกไป เช่น การตัดสิทธิไม่ขึ้นค่าจ้างหากพนักงานปฏิบัติงานไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

40 Idea, Learning, Question


ดาวน์โหลด ppt การนำและการจูงใจ Leading & Motivation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google