งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
(ว 42102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน

2 บอกข้อมูลเบื้องต้น และอธิบายการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะได้
จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกข้อมูลเบื้องต้น และอธิบายการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะได้ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

3 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

4 คืออาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์นับแสนล้านดวง
กาแล็คซี(Galaxy) คืออาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์นับแสนล้านดวง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

5 กาแล็คซี(Galaxy) ดาวฤกษ์ในกาแล็กซีอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวกับหลุมดำที่มีมวลสารมหาศาล ซึ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางของกาแล็กซี ครู ศรีไพร แตงอ่อน

6 เนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและ
กาแล็คซี(Galaxy) เนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและ ฝุ่นละอองเกาะกลุ่มอยู่ระหว่างที่ว่างของดาวฤกษ์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

7 กาแล็คซี(Galaxy) หลุมดำ คือ บริเวณในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงสูง ไม่มีอะไรออกมาจากบริเวณนี้ได้ แม้แต่แสง หลุมดำจึงมืด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

8 กาแล็คซี(Galaxy) กาแล็กซีไม่ได้กระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเอกภพ แต่ส่วนใหญ่จะแผ่นเป็นแผ่นกว้างหรือเรียงเป็นสายหรือเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มก่อกำเนิดดาวฤกษ์จำนวนมาก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

9 ทฤษฎีของนักดาราศาสตร์ กล่าวว่า
จุดกำเนิดกาแล็กซี ทฤษฎีของนักดาราศาสตร์ กล่าวว่า กลุ่มแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมที่ถูกเหวี่ยงออกจาก Big Bang รวมกันด้วยแรงดึงดูดระหว่างละอองแก๊ส ครู ศรีไพร แตงอ่อน

10 จุดกำเนิดกาแล็กซี การรวมตัวกันของกลุ่มแก๊สทำให้เกิดดวงดาวดวงแรก แก๊สและฝุ่นละอองที่เหลือจะแผ่ปกคลุมรอบ ๆ เป็นแขนออกจากใจกลางกาแล็กซี ครู ศรีไพร แตงอ่อน

11 กลุ่มกาแล็กซี(Cluster of Galaxy)
กาแล็กซีจะรวมกลุ่มกัน แต่ละกลุ่มมีกาแล็กซีไม่เทากัน กาแล็กซีที่สว่างที่สุดในกลุ่ม เป็น “เทียนมาตรฐาน” ครู ศรีไพร แตงอ่อน

12 ทางช้างเผือก เป็นแถบฝ้าขาวจาง ซึ่งเกิดจากดาวฤกษ์หลายหมื่นล้านดวงมารวมกัน พาดผ่านท้องฟ้าโดยรอบ ขนาดกว้างประมาณ 15๐ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

13 กาแล็กซีทางช้างเผือก
(The Milky Way Galaxy) - ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 2 แสนล้านดวง - ระหว่างดาวฤกษ์เป็นอวกาศและ เนบิวลา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

14 กาแล็กซีทางช้างเผือก
(The Milky Way Galaxy) - มองด้านข้างเห็นเป็นรูปจานข้าว 2 จานประกบกัน - มองด้านบนเห็นเป็นกังหันหรือ สไปรัล Sb ครู ศรีไพร แตงอ่อน

15 กาแล็กซีทางช้างเผือก
ครู ศรีไพร แตงอ่อน

16 กาแล็กซีทางช้างเผือก
(The Milky Way Galaxy) - มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง - มีความหนา 1,000 ปีแสง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

17 กาแล็กซีทางช้างเผือก
(The Milky Way Galaxy) - มวลรวมประมาณ 750,000-1,000,000เท่าของมวลดวงอาทิตย์ - ดวงอาทิตย์อยู่ที่แขนห่างจุดศูนย์กลาง 30,000 ปีแสง เคลื่อนที่ 200 ล้านปี/รอบ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

18 กาแล็กซี ทางช้างเผือก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

19 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

20 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

21 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

22 กาแล็กซีแบบไร้รูปทรง ฯลฯ
กาแล็กซีรูปแบบต่างๆ กาแล็กซีแบบกังหัน กาแล็กซีแบบหันบาร์ กาแล็กซีแบบทรงรี และ กาแล็กซีแบบไร้รูปทรง ฯลฯ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

23 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

24 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

25 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

26 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

27 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

28 แอนโดรมีดา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

29 คือระบบที่ว่าด้วยดวงอาทิตย์
ระบบสุริยะ คือระบบที่ว่าด้วยดวงอาทิตย์ และบริวาร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

30 เทห์วัตถุต่าง ๆบนท้องฟ้าใน ระบบสุริยะ อยู่ภายใต้อำนาจ
แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

31 บริวารส่วนใหญ่จึงโคจรรอบดวง อาทิตย์ในระนาบเดียวกันจนเกือบ
ระบบสุริยะ บริวารส่วนใหญ่จึงโคจรรอบดวง อาทิตย์ในระนาบเดียวกันจนเกือบ เป็นวงกลมและโคจรในทิศทาง เดียวกันในลักษณะทวนเข็มนาฬิกา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

32 ขอบเขตของระบบสุริยะมีรัศมีกว้าง 2.4 ปีแสง
ครู ศรีไพร แตงอ่อน

33 กำเนิดดวงอาทิตย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

34 ดวงอาทิตย์มีสีเหลือง อุณหภูมิประมาณ 6,000 เคลวิน
สเปกตรัม G อุณหภูมิประมาณ 6,000 เคลวิน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

35 ประกอบด้วยบรรยากาศ 3 ชั้น
ดวงอาทิตย์ ประกอบด้วยบรรยากาศ 3 ชั้น ชั้นโฟโตสเฟียร์ (เกิดปรากฏการณ์ระเบิดจ้า) ชั้นโครโมสเฟียร์ ชั้นโคโรนา(เกิดลมสุริยะ) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

36 ลมสุริยะ เกิดจากอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ในชั้นโคโรนา หลุดออกอวกาศกลายเป็นลมสุริยะ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

37 เกิดในชั้นโฟโตสเฟียร์ ทำให้เกิดจุดบนดวงอาทิตย์
ปรากฏการณ์ระเบิดจ้า เกิดในชั้นโฟโตสเฟียร์ ทำให้เกิดจุดบนดวงอาทิตย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

38 แสงเหนือ - แสงใต้ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

39 บริวารดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์มีบริวารคือ ดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง แก๊สและฝุ่นธุลี เนื้อที่ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะเป็นอวกาศ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

40 ดาวเคราะห์ ทั้ง 9 ดวงได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร
บริวารดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ทั้ง 9 ดวงได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส(มฤตยู) ดาวเนปจูนและดาวพลูโต ครู ศรีไพร แตงอ่อน

41 การแบ่งดาวเคราะห์ * ถ้าใช้เข็มขัดดาวเคราะห์น้อยเป็นเกณฑ์ แบ่งเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน(ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร)และดาวเคราะห์ชั้นนอก(ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส(มฤตยู) ดาวเนปจูนและดาวพลูโต) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

42 การแบ่งดาวเคราะห์ * ถ้าใช้โครงสร้างภายในเป็นเกณฑ์ แบ่งเป็นดาวเคราะห์หิน(ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคารและพลูโต)และดาวเคราะห์แก๊ส(ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส(มฤตยู) และดาวเนปจูน) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

43 มีธาตุองค์ประกอบหลักเป็นโลหะเช่นเหล็กหรือนิเกิล
ดาวเคราะห์หิน(Terrestrial Planets) คือดาวเคราะห์ที่มีพื้นผิวดาวชัดเจน เป็นพื้นแข็งหรือเป็นหินแบบเดียวกับโลก เรียกว่าดาวเคราะห์แบบโลก มีธาตุองค์ประกอบหลักเป็นโลหะเช่นเหล็กหรือนิเกิล ครู ศรีไพร แตงอ่อน

44 ดาวเคราะห์แก็ส(Jovian Planets)
หรือดาวเคราะห์ยักษ์ คือดาวเคราะห์ที่ไม่มีพื้นผิวดาวชัดเจน ประกอบด้วยแก็สเกือบทั้งดวง มีอุณหภูมิและความดันสูงมาก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

45 ดาวเคราะห์แก็ส(Jovian Planets)
- ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ ประกอบ ด้วยแก็สไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ประกอบ ด้วยแก็สแอมโมเนียและมีเทนเป็น ส่วนใหญ่ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

46 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

47 อุณหภูมิกลางวัน 4270 C กลางคืน - 1700 C
ดาวพุธ(Mercury) อุณหภูมิกลางวัน 4270 C กลางคืน C ครู ศรีไพร แตงอ่อน

48 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

49 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

50 ดาวพุธ (Mercury) ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์อยู่ใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธจึงร้อนจัด ในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลากลางคืน ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ดวงเล็กโตกว่า ดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย ครู ศรีไพร แตงอ่อน

51 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

52 พื้นผิวดาวพุธคล้ายกับผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่วนใหญ่เป็นฝุ่นและหิน มีหลุมลึกมากมาย ไม่มีอากาศ ไม่มีน้ำ ดาวพุธจึงเป็นดาวแห้งแล้ง ดาวแห่งความตายเป็นโลกแห่งทะเลทราย ครู ศรีไพร แตงอ่อน

53 ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87
ดาวพุธเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ วัน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

54 เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

55 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

56 ในระหว่างเวลากลางวัน อุณหภูมิที่ผิวของดาวพุธช่วงที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ ที่สูงสุดถึง 700 เคลวิน (ประมาณ 427 องศาเซลเซียส) สูงพอที่จะละลายสังกะสีได้ แต่ในเวลากลางคืนอุณหภูมิลดต่ำลงเป็น 50 เคลวิน (-183 องศาเซลเซียส) ต่ำพอที่จะทำให้ก๊าซคริปตอนแข็งตัว ครู ศรีไพร แตงอ่อน

57 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบนพื้นผิวดาวพุธจึงรุนแรง คือร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลากลางคืน ปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดบนดวงจันทร์ของโลกเราด้วย ทั้งนี้เพราะไม่มีบรรยากาศที่จะดูดกลืนความร้อนอย่างเช่นโลก        ครู ศรีไพร แตงอ่อน

58 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

59          ปัจจุบันนักดาราศาสตร์พบร่องรอยของบรรยากาศ และพบน้ำแข็งบริเวณขั้ว ซึ่งอาจเกิดจากการชนของดาวหางบนดาวพุธ และอาจเป็นผู้ก่อกำเนิด ออกซิเจน และไฮโดรเจนบนดาวพุธ ปรากฏการณ์บนฟ้าเกี่ยวกับดาวพุธ เห็นอยู่ใกล้ขอบฟ้าเสมอ สาเหตุเป็นเพราะวงโคจรของดาวพุธเล็กกว่า วงโคจรของโลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

60 ดาวพุธจึงปรากฏห่างจากดวงอาทิตย์ได้อย่างมากไม่เกิน 28 องศา นั่นหมายความว่า ถ้าอยู่ทางทิศตะวันออกของดวงอาทิตย์ จะเห็นทางทิศตะวันตกในเวลาหัวค่ำ แต่ถ้าอยู่ทางตะวันตกของดวงอาทิตย์ จะขึ้นก่อนดวงอาทิตย์ จึงเห็นทางทิศตะวันออกในเวลารุ่งอรุณ และเห็นเป็นเสี้ยวในกล้องโทรทรรศน์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

61 เนื่องจากดาวพุธไม่หันด้านสว่างทั้งหมดมาทางโลก แต่จะหันด้านสว่างเพียงบางส่วนคล้ายดวงจันทร์ข้างขึ้นหรือข้างแรม หันด้านสว่างมาทางโลก ถ้าดาวพุธหันด้านสว่างทั้งหมดมาทางโลก เราจะมองไม่เห็น เพราะดาวพุธอยู่ไปทางเดียวกันกับดวงอาทิตย์ เห็นเป็นจุดดำเล็กๆ บนพื้นผิวดวงอาทิตย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

62 ดาวศุกร์(Venus) มีบรรยากาศหนาทึบด้วยแก๊สพิษและเมฆหมอกกรด หมุนรอบตัวเองตรงข้ามกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

63 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

64 ดาวศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 มีขนาดเล็กกว่าโลกเล็กน้อย จึงได้ชื่อว่าเป็นดาวฝาแฝดกับโลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

65 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

66 ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกร์ปรากฏเป็นเสี้ยวเช่นเดียวกับดวงจันทร์ โดยเราสามารถสังเกตได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

67 ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกร์นั้นมีขนาดใหญ่กว่าและอยู่ใกล้โลกมากกว่าดาวพุธ
ครู ศรีไพร แตงอ่อน

68 ดาวศุกร์ (Venus) เราจะสังเกตเห็นดาวศุกร์สว่างจ้ากว่าดาวพุธมาก มีความสว่างเป็นรองจากดวงจันทร์ในยามค่ำคืน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

69 ดาวศุกร์ (Venus) เมื่อปรากฏให้เห็นในเวลาใกล้ค่ำทางทิศตะวันตกเรียกว่า
ดาวประจำเมือง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

70 ดาวศุกร์ (Venus) และเรียกว่า
ดาวประกายพรึก เมื่อปรากฏให้เห็นทางทิศตะวันออกในเวลาก่อนรุ่งอรุณ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

71 ลักษณะพิเศษของดาวศุกร์คือ
หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

72 นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

73 รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก
ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

74 ดาวศุกร์กับโลกนั้นเปรียบเสมือนเป็นฝาแฝด เพราะดาวเคราะห์ทั้งสองมีขนาดและความหนาแน่นใกล้เคียงกัน จึงมีโครงสร้างภายในที่คล้ายคลึงกันด้วย ครู ศรีไพร แตงอ่อน

75 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

76 แกนกลางประกอบไปด้วยเหล็ก มีรัศมี 3,000 กิโลเมตร
โครงสร้างดาวศุกร์ แกนกลางประกอบไปด้วยเหล็ก มีรัศมี 3,000 กิโลเมตร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

77 ชั้นแมนเทิล มีความหนา 3,000 กิโลเมตร
โครงสร้างดาวศุกร์ ชั้นแมนเทิล มีความหนา 3,000 กิโลเมตร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

78 เปลือกแข็งที่ประกอบด้วยหินซิลิเกต
โครงสร้างดาวศุกร์ เปลือกแข็งที่ประกอบด้วยหินซิลิเกต มีความหนา 50 กิโลเมตร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

79 ภาพถ่ายดาวศุกร์เต็มดวง เป็นภาพถ่ายด้วย
พื้นผิวดาวศุกร์ ที่สูงอะโฟรไดท์ (Aphrodite) ภาพถ่ายดาวศุกร์เต็มดวง เป็นภาพถ่ายด้วย เทคนิคเรดาร์จากยานแมคเจลแลน (NASA/JPL) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

80 นอกจากนี้พื้นผิวดาวศุกร์ยังประกอบไปด้วยภูเขาไฟและมีชั้นบรรยากาศห่อหุ้ม ช่วยในการป้องกันรังสีและอุกกาบาตจากภายนอก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

81 ภูเขาไฟบนดาวศุกร์ ภาพภูเขาไฟและเส้นทางลาวาบนดาวศุกร์ เป็นภาพถ่ายด้วยเทคนิคเรดาร์จากยานแมคเจลแลน (NASA/JPL) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

82 ภูเขาไฟบนดาวศุกร์แตกต่างจากภูเขาไฟบนโลก บนโลกมีน้ำอยู่มากมาย ก๊าซที่พุ่งออกมาจาก
ภูเขาไฟเช่น CO2และ SO2 จะละลายกลับลงไปในน้ำในมหาสมุทร และตกตะกอนอยู่ใต้มหาสมุทร ครู ศรีไพร แตงอ่อน

83 แต่การที่บนดาวศุกร์ไม่มีน้ำ ทำให้ก๊าซต่างๆที่พุ่งออกมาจาก
ปล่องภูเขาไฟ โดยเฉพาะ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลายเป็นส่วนหนึ่งของชั้นบรรยากาศทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก     ครู ศรีไพร แตงอ่อน

84 อยู่ในชั้นเมฆก็จะตกลงสู่พื้นผิวดาวศุกร์
นอกจากนี้ SO2ยังทำปฏิกิริยากับน้ำในบรรยากาศกลายเป็นกรดซัลฟูริก ซึ่งถ้าไม่เก็บกัก อยู่ในชั้นเมฆก็จะตกลงสู่พื้นผิวดาวศุกร์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

85 แต่ชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นหนาแน่นกว่าของโลกมาก
มีความดันบรรยากาศที่พื้นผิวประมาณ 92 เท่าของความดันบรรยากาศที่พื้นผิวโลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

86 ดาวศุกร์มีก๊าซที่ช่วยดูดกลืนความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มาก และ มีปริมาณสูง ก๊าซดังกล่าวคือ CO2 นอกจากนี้ยังมีไอของกรดกำมะถัน ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของ SO2กับ Ar , N2 , CO , Ne-HCl และHF ทำให้ความกดดันบรรยกาศสูงกว่าโลก 90 เท่า ครู ศรีไพร แตงอ่อน

87 ปรากฏการณ์เรือนกระจกบนพื้น
ผิวดาวศุกร์ ทำให้ดาวศุกร์ร้อนทั้งกลางวันและกลางคืน ตอนกลางวันอุณหภูมิสูงถึง 477 องศาเซลเซียส ครู ศรีไพร แตงอ่อน

88 บนพื้นผิวดาวศุกร์มีร่องลึกคล้ายทาง
น้ำไหล แต่เป็นร่องที่เกิดจากการไหลของลาวาภูเขาไฟ ไม่ใช่เกิดจากน้ำอย่างเช่นบนโลก ร่องเหล่านี้ยาวนับร้อยถึงพันกิโลเมตร กว้าง 1-2 กิโลเมตร เช่น ร่องบอลติส วัลลิส (Baltis Vallis) ซึ่งยาว 6,800 กิโลเมตรนับว่ายาวที่สุดในระบบสุริยะ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

89 แผนที่ดาวศุกร์ ภูเขาแมกซ์เวลล์ (Maxwell Montes)
ที่สูงอะโฟรไดท์ (Aphrodite) ครู ศรีไพร แตงอ่อน

90 แผนที่โลก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

91 ภาพถ่ายพื้นผิวของดาวศุกร์แบบ 3 มิติ (NASA/JPL)
ครู ศรีไพร แตงอ่อน

92 - หมุนรอบดวงอาทิตย์ 225 วัน
- ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 108,208,930 ก.ม. - หมุนรอบตัวเอง วัน (หมุนกลับหลัง) - หมุนรอบดวงอาทิตย์ 225 วัน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

93 เส้นผ่านศูนย์กลาง 12,103.6 ก.ม. (0.9488 เท่าของโลก)
เส้นผ่านศูนย์กลาง 12,103.6 ก.ม. ( เท่าของโลก) ปริมาตร เท่าของโลก มวล × 1024 ก.ก. ความหนาแน่น ก.ก./ม.3 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

94 อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย 730 องศาเคลวิน
ก๊าซในชั้นบรรยากาศ Carbondioxide (CO2) 96% Nitrogen (N2) 3% water vapor 0.003% ครู ศรีไพร แตงอ่อน


ดาวน์โหลด ppt ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google