งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รางวัลดีเด่นระดับประเทศในปี2548

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รางวัลดีเด่นระดับประเทศในปี2548"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รางวัลดีเด่นระดับประเทศในปี2548
นวัตกรรมการ ดูแลผู้ป่วยและครอบครัวที่บ้าน โดย ใช้หลักการสร้างสัมพันธภาพบนผังเครือญาติ ( ROF = RELATION ON FAmILY TREE ) ชนะเลิศCBLระดับภาคปี2555 การดูแลผู้ป่วยและครอบครัวแบบบูรณาการโดยใช้หลักการสร้างสัมพันธภาพบนผังเครือญาติ INTREGATE HOME CARE WITH RELATION ON FAmILY TREE

2 บริการสุขภาพชุมชน ด้วยมาตรฐานสากล
ภาคีมีส่วนร่วม

3 บริบทพื้นที่ หมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน หลังคาเรือน 1,485 หลังคาเรือน
หมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน หลังคาเรือน 1,485 หลังคาเรือน ประชากรรวม 5, คน ประชากรUC 4,591 คน ข้าราชการ 305 ปกส 234 คน มีวัดพุทธ 5 วัด (วัดป่า 1) โรงเรียนมัธยม โรงเรียน โรงเรียนประถม โรงเรียน โรงเรียนขยายโอกาส 1 โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก 4 ศูนย์ จำนวน อสม 111 คน อสม 1 คน: 13 หลังคาเรือน นสค. 5 คน : ประชากร 1026 คน

4 ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
สถานะสุขภาพ โรคชรา ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง อุบัติเหตุ อุจาระร่วง ไข้ไม่ทราบสาเหตุ อาหารเป็นพิษ ระบบทางเดินหายใจ ไข้ฉี่หนู ไข้เลือดออก ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม หนุ่ม-สาวโรงงาน คนชรา วัยรุ่น สังคม on line กลุ่มเสี่ยงเพิ่ม คนพิการเพิ่ม แรงงานต่างด้าว คนขี้เมา คนบ้า ติดยา ติดเกม เด็กท้อง ด้านพฤติกรรมสุขภาพ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ คาราโอเกะ ใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพ บริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

5 สาเหตุการตายปี56 ชราภาพ มะเร็ง (เต้านม กระดูก ตับ ช่องปาก
ต่อมน้ำเหลือง ลำไส้ ) หัวใจหลอดเลือด อุบัติเหตุ เอดส์

6 บริบทของรพสต. ทีมสหวิชาชีพจากรพ. ทีมประจำคะ

7 แพทย์ที่ปรึกษา พญ.ทิพวรรณ เขียมสันเทียะ
นสค.หมู่ 8 นสค.หมู่5,6 นสค.หมู่1. นสค.หมู่2,4 นสค.หมู่3,7 นสค. 5 คน : ประชากร 1026 คน

8 การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เด็ก0-6ปี แบบบูรณาการ

9 สภาพปัญหาและความจำเป็น
ในปีผ่านมา เด็กป่วย ด้วย โรคมือเท้าปาก ฟัน ผุ สุกใส ผู้ปกครองขาดความเข้าใจในการดูแล สิ่งแวดล้อมและการใช้สื่อที่ไม่เหมาะสม อาหารขยะและพฤติกรรมบริโภค ระบบติดตามไม่ครอบคลุม รายงานไม่ทันเวลา ผลงานการรับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ ระบบบริการแออัดและขาดความพึงพอใจ การจัดบริการไม่ผ่านมาตรฐาน

10 วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบบริการเด็ก0-6ปีให้ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน
ลดอัตราการเจ็บป่วย ด้วยโรคมือเท้าปากและฟันผุ สามารถจัดบริการ คลินิกเด็กไทยฉลาดสุขภาพดี ได้ครอบคลุมในการให้บริการด้าน โภชนาการ พัฒนาการ การป้องกันโรค และการ ดูแลสุขภาพช่องปาก ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายในการ ดูแลเด็กในชุมชน

11 เป้าหมาย เด็ก 0-6 ปีในเขตรับผิดชอบ จำนวน 391 คน
เด็ก 0-6 ปีในเขตรับผิดชอบ จำนวน คน ได้รับการดูแลครบถ้วนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ โภชนาการ วัคซีน พัฒนาการ ทันตกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 และ เด็กนอกเขตรับผิดชอบที่มาขอรับบริการ ที่คลินิกได้รับบริการตามมาตรฐานทุกคน ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน 4 ศูนย์เด็ก 95คน ผ่านการ ประเมินศูนย์เด็กมาตรฐานทั้งหมด

12 กระบวนการพัฒนา 1 ระบบฐานข้อมูลและการจัดเก็บ 2
ศักยภาพบุคลากรและภาคีสุขภาพที่เกี่ยวข้อง 3 บริการคลินิกเด็กไทยฉลาดสุขภาพดีในรพสต.และการจัดบริการในชุมชน 4 การติดตามและการส่งต่อเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ

13 ระบบฐานข้อมูลและการจัดเก็บ
1 ระบบฐานข้อมูลและการจัดเก็บ แหล่งข้อมูล รายงานเด็กเกิดจาก รพ. จาก อสม. มารับบริการเอง เยี่ยมบ้าน เครื่องมือที่ใช้ แฟ้มอนามัยครอบครัวและบัตรสุขภาพเด็กทุกคน ทะเบียนเฝ้าระวังและติดตามโดยอสม. ทะเบียนติดตามเด็กขาดนัดและมีปัญหา ทะเบียนติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการ และพัฒนาการผิดปกติ ระบบฐานข้อมูล Hos Xp pcu ที่สามารถเชื่อต่อData center ผลลัพธ์ มีข้อมูลที่ใช้ในการติดตามเด็กได้สะดวก ปัญหาที่ยังพบ เด็กย้ายเข้าออกบ่อยและเด็กต่างด้าว การแสดงผลไม่ครบถ้วน

14 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีสุขภาพที่เกี่ยวข้อง
2 ให้ความรู้เจ้าหน้าที่รพสต.ทุกคน โดยรพ.แม่ข่าย และในรพสต. อบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อบรมครูพี่เลี้ยงศูนย์เด็ก ประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่เทศบาลในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เครื่องมือที่ใช้ คุมือการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก สมุดบันทึกสุขภาพเด็กสีชมพู แบบประเมินความรู้อาสาสมัครสาธารณสุข แบบบันทึกการตรวจพัฒนาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สื่อของกรมสุขภาพจิตและกรมอนามัย

15 ผลลัพธ์ 1.เจ้าหน้าที่ทุกคนสามารถตรวจร่างกายและพัฒนาการ ได้ทุกคนสามารถจัดบริการได้ต่อเนื่อง 2. วางแผนร่วมกันกับทีมสหวิชาชีพในการดูแลเด็ก 3. อสม.มีความรู้สามารถตรวจสุขภาพเด็กเบื้องต้นได้และรายงานได้ร้อยละ 80 และส่งรายงานทุกหมู่

16 บริการคลินิกเด็กไทยฉลาดสุขภาพดี
3 บริการคลินิกเด็กไทยฉลาดสุขภาพดี ประเมินตนเองตามมาตรฐานการจัดบริการคลินิกเด็กดี ปรับปรุงสถานที่ให้เอื้อต่อการบริการ และ จัดหาอุปกรณ์ ให้ครบถ้วน จัดบริการ ตามขั้นตอนประกอบด้วย ซักประวัติจัดทำแฟ้ม ให้ความรู้ผู้ปกครอง ประเมินภาวะโภชนาการ ประเมินพัฒนาการ ลงประวัติในคอมพิวเตอร์ระบบHos-Xp รับบริการด้านทันตกรรม บริการวัคซีน และจ่ายยา เฝ้าระวังก่อนกลับบ้านและเจาะเลือดตรวจโลหิตจางเด็กอายุ9เดือน เครื่องมือที่ใช้ ชุดตรวจพัฒนาการ เครื่องมือตรวจสุขภาพ แบบประเมินและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก แฟ้มอนามัย ครอบครัว สมุดสีชมพู

17 บริการเชิงรุกในชุมชน
3ต่อ ตรวจพัฒนาการเบ้องต้น เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และตรวจฟัน โดยอสมทุก3เดือน ให้ความรู้ผู้ปกครองและทาฟลูออไรด์วานิชเด็ก0-3 ปี จัดบริการทุก3 เดือน เพื่อติดตามเด็กที่หลุดจากบริการในคลีนิก ประเมินภาวะโภชนาการ พัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็กโดยครูพี่เลี้ยง ทุก 1 เดือน โดยเจ้าหน้าที่ ภาคเรียนละ1ครั้ง ประเมินศูนย์เด็กเล็กปีละ1 ครั้งร่วมกับเทศบาลอรพิมพ์และจัดทำแผน ร่วม จัดบริการเชิงรุกออกตรวจสุขภาพเด็กและประเมินพัฒนาการเด็กใน หมู่บ้านและศูนย์เด็กเล็กโดยเจ้าหน้าที่ปีละ 1 ครั้ง ประกวดเด็กสุขภาพดีมีฟันสวย ประกวดล้างมือถูกวิธีในเด็กเล็ก

18

19 ผลลัพธ์ของการพัฒนาระบบบริการ
1.ผลการประเมินมาตรฐานการจัดบริการสามารถผ่านเกณฑ์ประเมินที่กำหนดในระดับรพสต.ทุกข้อ ยังขาดเรื่องlab การวัดความดันโลหิตและตรวจสายตาในเด็กอายุ 4 ปี 2.สามารถลดความแออัดจากการมารับบริการของเด็กได้และให้ความรู้ได้ตามอายุของเด็ก 3.เด็กผิดปกติได้รับการตรวจรักษาและพบแพทย์ เด็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ แบบ บูรณาการ (โภชนาการ ฟัน วัคซีน พัฒนาการ) จำนวน คนคิด เป็นร้อยละ 96.16 เด็กพิการปากแหว่ง 2 รายรับการผ่าตัดแล้วทั้ง2ราย การได้รับวัคซีนพื้นฐานตามเกณฑ์ ร้อยละ 100

20 ภาวะโภชนาการ โภชนาการปกติ 318 รายอ้วน 23 ราย ค่อนข้างอ้วน 10 ราย
โภชนาการปกติ 318 รายอ้วน 23 ราย ค่อนข้างอ้วน 10 ราย ค่อนข้างน้อย 9 รายผอม ราย การแก้ไข ให้ความรู้ผู้ปกครองและนัดหมายมาเข้าคลินิกวันพฤหัสบดี และพบแพทย์ที่รพสต.ก่อนส่งรพ.ครบุรี เยี่ยมบ้านเพื่อปรับพฤติกรรมการเลี้ยงดู

21 ด้านพัฒนาการ เด็กที่ติดตามต่อเนื่อง
จำนวนที่ได้รับประเมินพัฒนาการ ด้วยเครื่องมือ DSPM 376 คน สมวัย 354 ร้อยละ 94.14 เด็กที่ติดตามต่อเนื่อง ด้านการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมัดเล็ก 8 คน ด้านการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมัดใหญ่ 0 คน ด้านการเข้าใจภาษา 11 คน (3) ด้านการใช้ภาษา 2 คน ด้านการเข้าสังคม 6 คน รวม 22 คน (5.85) ปัญหา/อุปสรรค การใช้เครื่องมือยังไม่มานพอ ปรับปรุงแบบคัดกรองเพิ่มเติมเพื่อให้สะดวกและผิดพลาดน้อยลง โปรแกรม Hoxp ยังรายงานได้ไม่ครบและส่งออก

22 ผลลัพธ์ด้านทันตกรรม ตรวจสุขภาพช่องปาก 376 ราย ฟันผุ 78 ราย
ตรวจสุขภาพช่องปาก ราย ฟันผุ 78 ราย เด็กอายุ 6 เดือน-3ปี จำนวน 208 คน ได้รับการเคลือบ ฟลูออไรด์139 คิดเป็นร้อยละ 66.82 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลมีการแปรงฟัน และเคลือบฟลูออไรด์จำนวน ร้อยละ 100 ปัญหา นัดผู้ปกครองพาเด็กมารับการรักษาวันอังคาร โครงการร่วมกับเทศบาล ประกวดเด็กสุขภาพดีมีฟันสวย

23

24 การติดตามและการส่งต่อเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ
4 การติดตามและการส่งต่อเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ 1.เด็กปกติติดตามทุก3เดือนโดยการรายงานจากอสม. 2.เด็กผิดปกตินัดเข้าคลินิกกติดตามทุกวันอังคารและพฤหัสบดีที่2 เพื่อและพบแพทย์ที่รพสต.นารากก่อนส่งต่อ รพ.ครบุรี 3.ส่งต่อ รพ.ครบุรี รายที่พบปัญหา พัฒนาการล่าช้า และมีโรคประจำตัว 4.โทรศัพท์ขอคำปรึกษาแพทย์พี่เลี้ยง 5.นัดมาจัดกิจกรรมให้ความรู้และปรับพฤติกรรมการเลี้ยงดูของ ผู้ปกครอง 6.เยี่ยมบ้านในรายที่ผิดปกติและขาดนัด

25 กรณีศึกษาที่1 การติดตามเด็กที่มีปัญหาด้านการเข้าใจภาษา
เด็กชาย อายุ5ปี มารดาแยกทางกับบิดา เด็กได้รับการดูจากป้า และ ยาย พ่อทำงานโรงงาน สภาพปัญหา ป้าบอกว่า เด็กสมาธิสั้นซนและวิ่งทั้งวัน ครูบอกเขียนอ่าน ไม่ได้ เพื่อนๆที่อยู่ในหมู่บ้านตีประจำ การเยี่ยมบ้าน เด็กจะไปโรงเรียนอนุบาลวันหยุด บ้านขนาดใหญ่เด็กอยู่ กับยายที่เป็นเบาหวานและช่วยตนเองไม่ได้จึงต้องออกมาวิ่งนอกบ้าน ทานอาหารทุกชนิด น้ำหนักตัว กิจกรรม นัดตรวจประเมินพัฒนาการอย่างละเอียดที่รพสต. พบว่าเด็ก สงบไม่ซนสามารถทำกิจกรรมที่พาทำได้ครบ เช่น อ่านหนังสือนิทาน การแยกเพศ การรอคอย แต่บอกสีได้ไม่ครบ 7 สี (ได้ 4สี) อธิบายป้าบอกวิธีกระตุ้นและการสร้างสัมพันธภาพกับเด็กมากขึ้น เจ้าหน้าที่ทุกคนในรพสต.พูดคุยและถามเด็กทุกครั้งที่มารับบริการและ นัดวันที่6พฤษภาคม2557 เพื่อประเมินซ้าก่อนส่งต่อ รพ.ครบุรี และมี แผนติดตามไปที่รร.อนุบาล

26 กรณีศึกษาที่2 ปรับพฤติกรรมเด็กอ้วน
กรณีศึกษาที่2 ปรับพฤติกรรมเด็กอ้วน เด็กหญิงอายุ 3ปี อยู่กับตา ยาย น้าสาว มรดาอยู่กรุงเทพไปๆมาๆ ฐานะค่อนข้างดี ปัญหาที่พบ เด็ก นน.ตัวขึ้น 5 กก.ภายใน1เดือน ไม่ค่อยได้ออกจาก บ้าน พฤติกรรมประจำวัน ทานอาหาร วันละ2มื้อ ทานขนมถุง (ค่าขนมวันละ50บาท) ดื่มนมวันละ 11 กล่อง ดื่มน้ำอัดลมทุกชนิด ประเมินพัฒนาการ ไม่สามารถประกอบภาพ 3 ชิ้น ได้ การปรับพฤติกรรม สามารถลดนมลงได้เหลือ 7 กล่อง แต่พบว่าเด็ก ดื่มน้ำชาเขียวเย็นๆแทน สามารถลดน้ำอัดลมได้ ยังทานขนมอยู่ แนะนำให้ผู้ปกครองทำกิจกรรมกับเด็กมากขึ้น และนัดเข้ากลุ่ม 18 พฤษภาคม57 และนัดหมายขอทำกิจกรรมROF นัดญาติทุกคนที่เลี้ยง เด็ก

27 การคันหามะเร็งเต้านมและปากมดลูก (เคาะประตูสู้ภัยมะเร็ง)

28 เป้าหมาย สตรีอายุ30-70ปีขึ้นไปในตำบลอรพิมพ์จำนวน 1, คน ได้รับคู่มือและสามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ ถูกต้องอย่างน้อยร้อยละ 90 ( คน) สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-60ปี ที่ได้รับความรู้เข้ารับบริการ ตรวจมะเร็งปากมดลูกตามกำหนดนัดหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ผลงานการตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60ปีจำนวน 1057 สะสมตั้งแต่ปี ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ผู้ป่วยผิดปกติทุกรายได้รับการรักษาและเยี่ยมบ้าน

29 การดำเนินงาน ให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขปีละ1ครั้ง
จนท.รพสต.นาราก เยี่ยมบ้านเคาะประตูสู้ภัยมะเร็ง รายคุ้มและอบรมให้ความรู้รายกลุ่มเป้าหมายทุกคน และแจกสมุดบันทึกตรวจเต้านมด้วยตนเอง นัดหมายและตรวจมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกที่รพสต. เยี่ยมบ้านผู้ป่วยมะเร็ง บริการตรวจตามวันที่นัดหมายและส่งต่อในรายที่พบ ผลตรวจผิดปกติ

30

31

32 การติดตามผล 1. วัดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมโดยการให้ ผู้รับการอบรมสาธิตหลังการสอนตรวจเต้านมแบบ รายบุคคล 2. วัดจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการตามนัด 3. วัดผลงานย้อนหลัง5ปี ( ) โดยใช้ แหล่งข้อมูลจากสถาบันมะเร็ง 4. อสม.ติดตาม และะรวบรวมส่ง จนท.ทุก3เดือน 5. ประเมินเมื่อมารับริการวางแผนครอบครัวทุกครั้ง 5. เยี่ยมผู้ป่วยมะเร็งที่พบผิดปกติที่ได้รับการรักษา

33 ผลของรูปแบบการติดตาม

34 ผลลัพธ์ อสม.สามารถสอนและแนะนำการใช้ สมุดบันทึกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย คนคิดเป็นร้อยละ96.06 สุมประเมินกลุ่มที่ผ่านการให้ความรู้ 840 สามารถตรวจเต้านมตนเองได้ จำนวน820 คิดเป็นร้อยละ97.61 พบผู้ป่วยมะเร็งเสียชีวิตแล้ว 2ราย ยัง รักษาอยู่ 3 ราย ผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก เป้า1120 ผลงาน1014 ร้อยละ 90.5 พบ สงสัย ผิดปกติ 3 ราย ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรักษา 3 ราย

35 ที่มาเยี่ยมให้กำลังใจ
ขอขอบคุณทุกท่าน ที่มาเยี่ยมให้กำลังใจ


ดาวน์โหลด ppt รางวัลดีเด่นระดับประเทศในปี2548

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google