ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPapangkorn Plaphol ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
Data analysis for the making a decision with Business Intelligence
2
อาจารย์ปรีชา น้อยอำคา
จัดทำโดย นายสันติ อาริยทรัพย์ นายเทอดพงษ์ ผลจันทร์ ที่ปรึกษา อาจารย์ปรีชา น้อยอำคา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
3
4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP)
หัวข้อที่จะนำเสนอ 1. Business Intelligence คืออะไร 2. องค์ประกอบของ Business Intelligence 3. Data Warehouse 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP)
4
การใช้ข้อมูลที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการดำเนินธุรกิจในทุกวันนี้ คือ การเรียกใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ โดยจำเป็นต้องทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงได้มีระบบฐานข้อมูลดาต้าแวร์เฮาส์ ที่ออกแบบมาเพื่อจัดการกับข้อมูลและจัดสรรข้อมูลให้เกิดข้อมูลที่รองรับสำหรับการวิเคราะห์และการตัดสินใจ
5
1. Business Intelligence คืออะไร
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า 1. Business Intelligence คืออะไร Business Intelligence คือ ซอฟต์แวร์ (Software) ที่นำข้อมูลที่มีอยู่เพื่อจัดทำรายงานในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมกับมุมมองในการวิเคราะห์ และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน และใช้สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล ของงานในมุมมองต่างๆ ตามแต่ละแผนก เช่น วิเคราะห์การดำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อการตัดสินใจด้านการลงทุนสำหรับผู้บริหาร วิเคราะห์และวางแผนการขาย / การตลาด เพื่อประเมินช่องทางการจำหน่าย ฯลฯ วิเคราะห์สินค้าที่ทำกำไร สูงสุด / ขาดทุนต่ำสุด เพื่อการวางแผนงานด้านการตลาด และการผลิต วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อยอดขายของสินค้า ฯลฯ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่งขัน ฯลฯ
6
1. ดาต้าแวร์เฮ้าส์ (Data Warehouse)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) 2. องค์ประกอบของ Business Intelligence 1. ดาต้าแวร์เฮ้าส์ (Data Warehouse) 2. ดาต้ามาร์ท(Data Mart) 3. การทำเหมืองข้อมูล(Data Mining) 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP) 5. ระบบสืบค้นและออกรายงานต่าง ๆ
7
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
3. Data Warehouse ความหมายของคลังข้อมูล ระบบคลังข้อมูล หรือ Data Ware-house คือ ระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่กระจัดกระจายมาไว้ที่เดียวกันสามารถเก็บข้อมูลย้อนหลังได้หลายๆ ปี เพื่อใช้เป็นข้อมูลช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ หรือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ที่ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
8
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล Data Acquisition System Data Staging Area Data Warehouse Database Data Provisioning Data Metadata Repository Metadata Terminal ภาพประกอบที่ 1 สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล
9
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
การดึง& เปลี่ยนแปลงข้อมูล ดาต้า แวร์เฮาส์ ไดเรกทอรี ของสารสนเทศ การเข้าถึง ข้อมูลและ การวิเคราะห์ ข้อมูลปฏิบัติการ ข้อมูลในอดีต ข้อมูลภายนอก แหล่งข้อมูล ภายใน ภายนอก - การถามและการรายงาน - OLAP - ดาต้าไมน์นิ่ง ภาพประกอบที่ 2 ส่วนประกอบของดาต้าแวร์เฮาส์
10
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ ปี 2543 ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 สินค้า 1 สินค้า 2 สินค้า 3 สินค้า 4 ภาพประกอบที่ 3 ลักษณะหลายมิติของดาต้าแวร์เฮาส์
11
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP) OLAP ย่อมากจาก Online Analytical Processing เทคโนโลยีที่ใช้ข้อมูลจากคลังข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนโดยใช้ระยะเวลาสั้น ระบบทำงานได้รวดเร็ว สามารถค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาคำนวณได้อย่างครบถ้วนไม่ตกหล่น
12
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
ภาพประกอบที่ 4 การประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์
13
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ)
ประโยชน์ของ OLAP ช่วยในการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลในมุมต่าง ๆ ทำให้การตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้ใช้แต่ละคนสามารถสร้างมุมมองข้อมูลของตนเองได้ เพื่อนำไปใช้ในงานเฉพาะด้าน มีความรวดเร็วในการสอบถามข้อมูล แม้ในฐานข้อมูลขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมาก ทำให้ได้รับข้อมูลมุมมองใหม่ ๆ สำหรับประกอบการตัดสินใจ
14
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ภาพประกอบที่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
15
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.