ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPrisana Kasamsun ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
การทดลองของ J.J. Thomson ; 1897 การทดลองของ R.A. Milikan ;1909 การทดลองของ E. Rutherford ;1911 ทฤษฎีอะตอมสมัยใหม่ ทฤษฎีแสงของ J.C. Maxwell ทฤษฎีควอนตัมของแสง M. Plank ;1990 แบบจำลองอะตอมไฮโดรเจน ของ N. Bohr ; 1913 สมบัติทวิภาคของสสารและพลังงานของ Louis de Broglie ; 1924 หลักความไม่แน่นอนของ W. Heisenberg ทฤษฎีควอนตัมสมัยใหม่ ของ E. schrodinger เลขควอนตัม ออร์บิตัล ระดับพลังงานของออร์บิตัล การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอม
2
ปี 1803 จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นนักเคมีคนแรกที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับอะตอม ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้ ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค อนุภาคเหล่านี้เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกและทำให้สูญหายหรือสร้างขึ้นใหม่ไม่ได้ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันย่อมมีสมบัติเหมือนกัน มีมวลเท่าๆ กัน แต่มีสมบัติแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิด ทำปฏิกิริยากันในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวอย่างง่าย
7
อิเล็กตรอน นิวเคลียส 1. อะตอมไม่หนาทึบ ภายในมีที่ว่างอยู่มาก 2 ภายในมีอนุภาค ที่มีประจุบวกสูง และมีมวลมาก 3. อนุภาคดังกล่าวขนาดเล็กมากเทียบกับขนาดอะตอม 4. อนุภาคนั้นเรียก นิวเคลียส 5. มีอิเล็กตรอนกระจายอยู่ในว่างที่เหลื่อ
8
ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอมดั้งนี้
1921 Rutherford, Harkins ตั้งสมติฐานเกี่ยวกับนิวตรอน ไม่สามารถทดลองได้ 1932 Chadwick ทดลองและได้รังสีที่คิดว่า (น่าจะเป็นรังสีแกมมา) มาอา คู่รี ทดลองและได้อนุภาคโปรตอน Chadwick ทำการคำณวนหาน้ำหนัก ของนิวตรอนได้ ประมาณ 20 ปี ตั้งยุค Thomson ถึง Rutherford และการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอมดั้งนี้
9
1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม atomos atom = แบ่งไม่ได้ (เล็กที่สุดแล้ว)
= แบ่งไม่ได้ (เล็กที่สุดแล้ว) อยู่ตัว ไม่อยู่ตัว
10
1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม
11
1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม อนุภาคมูลฐานของอะตอม อนุภาค สัญลักษณ์ มวล ประจุ Electron e 9.11 x 10 -31 kg (me) -1 Proton p 1.67 x 10 -27 kg ( mp) +1 Neutron n kg ลองคิดเล่นๆ อัตราส่วนโดยมวลของ e : p : n เป็นเท่าไร ? e : p : n
12
1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม atom อนุภาคมูลฐานของอะตอม อนุภาค สัญลักษณ์ มวล
ประจุ Electron e 9.11 x 10 -31 kg (me) -1 Proton p 1.67 x 10 -27 kg ( mp) +1 Neutron n kg อะตอมของธาตุแต่ละชนิดต่างกันตรงไหน? atom 1) จำนวน p 2) จำนวน n 3) จำนวน e Nucleus สรุป อะตอมธาตุต่างชนิดกัน จะมีจำนวนอนุภาคมูลฐาน (p,n) แตกต่างกัน
13
X 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z เลขมวล (mass number)
คือ จำนวน นิวตรอน(n) + โปรตอน(p) X A Z สัญลักษณ์(Symbol) คือ ชื่อย่อของธาตุต่างๆ เลขอะตอม (atomic number) คือ จำนวน โปรตอน(p)
14
X 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ X A Z ชื่อธาตุนั้น ๆ จำนวนโปรตอน (p) = Z = จำนวนอิเล็กตรอน (e) จำนวนนิวตรอน (n) = A-Z ข้อสังเกตุ p = Z = e เนื่องจากประจุรวมของธาตุเป็นกลาง
15
O 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 16 8
ตัวอย่างที่ 1 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ O 16 8 ชื่อธาตุคือ oxygen จำนวนโปรตอน (p) = 8 = (e) จำนวนนิวตรอน (n) = = 8 ข้อสังเกตุ O เป็นชื่อย่อของธาตุ oxygen หากจำไม่ได้สามารถเปิดดูจากคู่มือ
16
U 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 238 92
ตัวอย่างที่ 2 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ U 238 92 ชื่อธาตุคือ uranium จำนวนโปรตอน (p) = = (e) จำนวนนิวตรอน (n) = = 146
17
O 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม ไอโซโทป 16 8 17 18
รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ O 16 8 17 18 ไอโซโทปของออกซิเจน ไอโซโทป (isotope) คือธาตุชนิดเดึยวกันที่โปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน
18
C 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 12 6 13 14
ตัวอย่างที่ 4 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ C 12 6 13 14 ไอโซโทปของคาร์บอน ไอโซโทป (isotope) คือธาตุชนิดเดึยวกันที่โปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน
19
H 1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 1 2 3
ตัวอย่างที่ 5 รู้อะไรบ้างจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ต่อไปนี้ H 1 2 3 ไอโซโทปของไฮโดรเจน ไอโซโทป (isotope) คือธาตุชนิดเดึยวกันที่โปรตอนเท่ากัน แต่นิวตรอนต่างกัน
20
1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม
21
ศึกษาอายุของซากสิ่งมีชีวิตที่ค้นพบ ศึกษาการเจริญเติมโตของพืช
1.1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม 14 ประโยชน์ของไอโซโทป C ศึกษาอายุของซากสิ่งมีชีวิตที่ค้นพบ ศึกษาการเจริญเติมโตของพืช 14 ครึ่งชีวิต ( Life Time ; t ½ ) ของ คาร์บอน 14 ( C ) = ? ปี
22
= เครื่องมือแกะรอย โครงสร้างอิเล็กตรอนภายในอะตอม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า = เครื่องมือแกะรอย โครงสร้างอิเล็กตรอนภายในอะตอม
25
ไฮน์ริช แฮตซ์
26
แสงขาว
27
6.6262
30
แบบจำลองอะตอมไฮโดรเจน
38
กลุ่มหมอกอิเล็กตรอน
48
16
49
16
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.