ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การศึกษาประวัติศาสตร์
“ถีบลงเขา เผาถังแดง”
2
ขั้นตอนการศึกษาประวัติศาสตร์
มี 5 ขั้นตอน คือ กำหนดหัวเรื่องที่ต้องการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ตีความหลักฐาน สรุปผลการศึกษาประวัติศาสตร์
3
กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษากันในกลุ่ม
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษากันในกลุ่ม ผลจากการหารือทางกลุ่มของกระผมสรุปว่าจะทำการศึกษาเรื่อง “ถังแดง”
4
รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
5
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
สัมภาษณ์ผู้รู้จากนาย สมใจ ศรีแก้ว อายุ 76 ปี บ้านเลขที่ 118 ม.8 ต.ตะแพน อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
6
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
7
หลักฐานไม่เป็นลายลักอักษร
จากบทสัมภาษณ์ของนายสมใจ กล่าวไว้ว่าเหตุการณ์ถังแดงเกิดขึ้นในช่วงระหว่างปี ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร ได้ปราบปรามผู้เคลื่อนไหวต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธแบบเหวี่ยงแหและรุนแรงด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนรู้เห็นกับ พคท.ไปสอบสวนหาข่าวด้วยวิธีทรมานในค่าย “เกาะหลุง” ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหัก
8
แล้วจับยัดถังน้ำมันขนาด 200 ลิตรสีแดง แล้วราดน้ำมันจุดไฟเผาจนเหลือแต่กระดูก บางส่วนถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า "ถีบลงเขา เผาถังแดง" นั่นเอง “ค่ายเกาะหลุง กิ่งอำเภอศรีนครินทร์” เป็นที่ตั้งของอุทยานประวัติศาสตร์ อุทยานที่เหล่าสหาย พรรคพวก เพื่อนพ้อง และบรรดาญาติพี่น้องของผู้ที่ได้อุทิศชีวิตได้ร่วมกันก่อสร้าง เดือนเมษายนของทุกปีคนเหล่านี้จะมาร่วมกันทำบุญให้กับ “เพื่อนสหาย” ที่เสียชีวิต เป็นที่ที่ได้จัดให้มีการ “รำลึกถังแดง” ร่วมกัน
9
หลักฐานที่เป็นลายลักอักษร
ประวัติศาสตร์ประชาชน “คอมมิวนิสต์และกรณีถังแดง” 3008 ศพที่ถูกสังหารไประหว่างปี ในเหตุการณ์ “ถีบลงเขา เผาถังแดง” และฝังความเจ็บร้าวไว้ในใจของคนที่สูญเสีย และเมือเม่าควันแห่งความสะพรึงกลัวต่อ “ปีศาจคอมมิวนิสต์” โดยเหตุการณ์ถังแดงนี้ได้เกิดในช่วงของของรัฐบาลจอมพลถนอม กิติขจร ซึ่งในช่วงนั้นได้มีการปราบปรามคอมมิวนิสต์
10
ซึ่งในพัทลุงและจังหวัดใกล้เคียงเป็นแหล่งชุมนุมของคอมมิวนิสต์จึงได้มีการปราบปรามด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนรู้เห็นกับ พคท.ไปสอบสวนหาข่าวด้วยวิธีทรมานในค่าย “เกาะหลุง” ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหัก
11
แล้วจับยัดถังน้ำมันขนาด 200 ลิตรสีแดง แล้วราดน้ำมันจุดไฟเผาจนเหลือแต่กระดูก บางส่วนถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า "ถีบลงเขา เผาถังแดง"
12
ขั้นตอนที่ 4 ตีความหลักฐาน
13
ประวัติศาสตร์ประชาชน “คอมมิวนิสต์และกรณีถังแดง” 3008 ศพที่ถูกสังหารไประหว่างปี ในเหตุการณ์ “ถีบลงเขา เผาถังแดง” และฝังความเจ็บร้าวไว้ในใจของคนที่สูญเสีย และเมือเม่าควันแห่งความสะพรึงกลัวต่อ “ปีศาจคอมมิวนิสต์” โดยเหตุการณ์ถังแดงนี้ได้เกิดในช่วงของของรัฐบาลจอมพลถนอม กิติขจร ซึ่งในช่วงนั้นได้มีการปราบปรามคอมมิวนิสต์ ซึ่งในพัทลุงและจังหวัดใกล้เคียงเป็นแหล่งชุมนุมของคอมมิวนิสต์จึงได้มีการปราบปรามด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนรู้เห็นกับ พคท.ไปสอบสวนหาข่าวด้วยวิธีทรมานในค่าย “เกาะหลุง” ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหัก
14
แล้วจับยัดถังน้ำมันขนาด 200 ลิตรสีแดง ด้านล่างจะเสียบตะแกรงเหล็กสูงกว่าก้นถังประมาณ ๑ ศอก ส่วนด้านบนต่ำจากปากถังจะมีตะแกรงเหล็กกั้นอยู่เช่นกัน เพื่อป้องกันศพไม่ให้เด้งขึ้นมา(เพราะเอ็นยึด) เวลาจะเผาเทน้ำมันก๊าดลงไป จุดไฟลุกพรึบ บางทีเผาพร้อมกัน ๒ – ๓ คน มีหลายคนถูกเผาทั้งเป็น ใช้เวลาในการเผาประมาณ ๒ ชั่วโมง ๔๕ นาที ก็หายเรียบ บางส่วนถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า "ถีบลงเขา เผาถังแดง"
15
อนุสรณ์สถานประวัติศาสตร์ ค่ายเกาะหลุง ต.ลำสินธุ์ อ.กงหรา จ.พัทลุง
16
ญาติพี่น้องผู้ที่เสียชีวิตในกรณีถังแดง มาร่วมงานรำลึกถังแดง ในทุกๆๆปี
17
สรุปผลของการศึกษาประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลของการศึกษาประวัติศาสตร์
18
สรุปผลการศึกษา จากการที่กลุ่มของกระผมได้ออกไปทำการศึกษาเหตุการณ์ในกรณีถังแดง ซึ่งเหตุการณ์นี้ได้เกิดขึ้นในช่วงสมัยจอมพลถนอม กิติขจร ซึงเหตุการณ์ในครั้งนี้เกิดขึ้นในปีพ.ศ โดยเหตุการณ์ในครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 3008 ศพ จากการโดนเผาทั้งเป็นจะโดนทำร้ายจากพวกทหาร
19
โดยได้ปราบปรามผู้เคลื่อนไหวต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธแบบเหวี่ยงแหลุรุนแรงด้วยการจับผู้ต้องสงสัยว่าสนับสนุนหรือมีส่วนร่วมมือจะถูกทุบจนแขนขาหักแล้วจับยัดถังเป็นถังใส่น้ำมันสมัยก่อนมีขนาด ๒๐๐ ลิตร ด้านล่างจะเสียบตะแกรงเหล็กสูงกว่าก้นถังประมาณ ๑ ศอกส่วนด้านบนต่ำจากปากถังจะมีตะแกรงเหล็กกั้นอยู่เช่นกัน เพื่อป้องกันศพไม่ให้เด้งขึ้นมา (เพราะเอ็นยึด) เวลาจะเผาเทน้ำมันก๊าดลงไป จุดไฟลุกพรึ่บ บางทีเผาพร้อมกัน ๒ – ๓ คน มีหลายคนถูกเผาทั้งเป็น
20
ใช้เวลาในการเผาประมาณ ๒ ชั่วโมง ๔๕ นาที ก็หายเรียบ และบางส่วนทำร้ายด้วยการทุบที ทรมานร่างกายจนเสียชีวิตแล้วถูกนำขึ้นเฮลิคอปเตอร์แล้วถีบลงให้ตกลงในป่าเขา จนเรียกขานกันในสมัยนั้นว่า “ถีบลงเขา เผาถังแดง”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.