งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
ห้องที่ 3 รองอธิบดี (แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์) ประธานกลุ่ม นางอนงค์ศิลป์ ด่านไพบูลย์ สคร.10 เลขานุการกลุ่ม

2 โครงการสำคัญ ของรองอธิบดี
3 การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 10 ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ 10.1 การพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ ชายแดนระหว่างประเทศ 10.2 การพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎ อนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 15 พัฒนางานวิจัยและวิชาการ

3 “การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล”
โครงการสำคัญที่ 3 “การควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล” สถาบันบำราศนราดูร

4 สถานการณ์ด้านโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล :
ผลกระทบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล : อัตราตาย จำนวนวันนอนรพ. ค่ายาต้านจุลชีพ  ผลการสำรวจอัตราชุกการติดเชื้อในรพ. ปี ๒๕๕๗ ๓. GAP ของบุคลากร : ยังไม่ได้รับการอบรม ๒ สัปดาห์ ๒๒ รพ., และหลักสูตร IC ๔ เดือน ๑๙๒ รพ. ๔. มาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลด้านโรคติดเชื้อของแต่ละรพ.ยังไม่เป็นแนวทางเดียวกัน ๕. การเข้าสู่ ASEAN ในปี ๒๕๕๘ กับปัญหาโรคติดเชื้อในจังหวัดชายแดน

5 1. ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพ
อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 10 (จากปีที่ผ่านมา) ตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ ( Process Indicator) มอบหมายให้สถาบันบำราศนาดูรไปจัดทำ (ค่าเป้าหมายเดิม : อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ไม่เกินร้อยละ 7.6) 2. พื้นที่เป้าหมายของสคร. พื้นที่ที่มีอัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล สูงกว่าเป้าหมายในปี 2557 ได้แก่ เขตบริการสุขภาพที่ 4 จังหวัดนนทบุรี และสระบุรี เขตบริการสุขภาพที่ 8 จังหวัดอุดรธานี รพ.ศูนย์ รพ.ทั่วไป รพ.ชุมชน ใน 12 เขตบริการสุขภาพ จำนวน 200 แห่(สถาบันบำราศนราดูรจัดทำรายละเอียดแยกราย สคร.)

6 3. เครือข่ายหลักในการดำเนินงาน :
1. เขตบริการสุขภาพ 12 เขต 2.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) 3.รพ. แม่ข่ายในแต่ละเขต 4.รพ.ศูนย์ ,รพ.ทั่วไป, รพ.ชุมชน

7 4. มาตรการดำเนินงาน : 1. พัฒนาระบบข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาลสำหรับ กระทรวงสาธารณสุข 2.พัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้งกำหนดอัตรากำลังที่จำเป็น ด้าน IC ร่วมกับคณะกรรมการ NICC 3. พัฒนาแนวปฏิบัติ สำหรับใช้เป็นแนวทางการดำเนินงาน ด้านการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

8 5. แนวทางการติดตามประเมินผล :
1. สคร.รายงานเป็นไตรมาส ตามแบบฟอร์มที่กองแผนงาน กำหนด 2. ติดตามและสื่อสารการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ผ่าน ระบบ VDO Conference ทุกไตรมาส

9 ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม:
1. ให้สถาบันบำราศนราดูรกำหนดมาตรการและแนวทาง สำคัญที่สคร. จะต้องไปดำเนินการ 2.ประเด็นท้าทายของสคร. ต้องชี้ GAP ให้โรงพยาบาล พัฒนาและปรับปรุง 3. พัฒนา ICN ของสคร. เพื่อเป็น Surveyor & Auditor ในกระบวนการรับรองคุณภาพ HA ของโรงพยาบาล

10 ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ
โครงการสำคัญที่ 10 ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ 10.1การพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคและ ภัยสุขภาพในพื้นที่ชายแดนระหว่างประเทศ สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ 10.2 การพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 สำนักโรคติดต่อทั่วไป

11 10.1การพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคและ ภัยสุขภาพในพื้นที่ชายแดนระหว่างประเทศ
สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ

12 1. ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพและ 2. พื้นที่เป้าหมาย สคร. ที่รับผิด ชอบ
ร้อยละ 70 ของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด สคร. ที่รับผิด ชอบ จังหวัด (สคร.1,2,8 ไม่มีพื้นที่ชายแดน) จำนวนจังหวัดเป้าหมาย จำนวนจังหวัด ที่ต้องผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 70) 3 สระแก้ว จันทบุรี ตราด 2 4 ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 5 บุรีรัมย์ สุรินทร์ 1 6 หนองคาย เลย บึงกาฬ 7 นครพนม ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี มุกดาหาร 9 พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ตาก 10 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่าน เชียงราย พะเยา 11 ชุมพร ระนอง 12 สงขลา นราธิวาส ยะลา สตูล รวมทั้งหมด 31 จังหวัด

13 3. เครือข่ายหลักในการดำเนินงาน :
1. สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป และ สำนักวิชาการ/ สถาบัน กรมควบคุมโรคที่เกี่ยวข้อง เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ) 2. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ และ 9 – 12 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 31 จังหวัด ที่เป็นเป้าหมาย

14 4. มาตรการดำเนินงาน : 1.พัฒนาแนวทาง มาตรฐานงานและติดตามประเมินผล
2. ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพในพื้นที่ชายแดนใน 12 เป้าหมาย ให้จังหวัดชายแดนที่เป็น เป้าหมายผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด 3. ติดตาม กำกับและประเมินผล การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ชายแดน และระหว่างประเทศ

15 5. แนวทางการติดตามประเมินผล :
สคร. รายงานเป็นไตรมาส ตามแบบฟอร์มที่กองแผนงานกำหนด (SAR ในระบบ ESM) ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

16 10.2 การพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548
สำนักโรคติดต่อทั่วไป

17 1. ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพและ 2. พื้นที่เป้าหมาย
ร้อยละ 70 ของด่านที่สังกัดกรมควบคุมโรค ( 58 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน IHR2005 เขตสุขภาพ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ พรมแดน รวม กรุงเทพ (สรต.) 1 - 2 เขตสุขภาพที่ 1 (สคร.10,สสจ.เชียงราย) 1 (1) 3 (1) 6 (2) เขตสุขภาพที่ 2 (สคร.9) 5 (1) เขตสุขภาพที่ 3 ไม่มีช่องทางเข้าออกประเทศเป้าหมาย เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 5 (สคร.4) 3 5 เขตสุขภาพที่ 6 (สรต.,สคร.3) 4 11 เขตสุขภาพที่ 7 เขตสุขภาพที่ 8 (สคร.6,สคร.7) 7 8 เขตสุขภาพที่ 9 (สคร.5) เขตสุขภาพที่ 10 (สคร.7) เขตสุขภาพที่ 11 (สคร.11, สสจ.สุราษฎร์ธานี) 4 (1) 6 (1) 10 (2) เขตสุขภาพที่ 12 (สคร.12, สสจ.สตูล ตรัง นราธิวาส ปัตตานี) 4 (2) 8(2) 14 (4) รวมทั้งสิ้น 17 (2) 18 (4) 32 (3) 67 (9) เป้าหมายในการดำเนินงาน พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศตามข้อกำหนดกฎอนามัยประเทศ พ.ศ จำนวน 67 ช่องทาง (กรมควบคุมโรค 58 ช่องทาง , สป. 9 ช่องทาง)

18 3. เครือข่ายหลักในการดำเนินงาน :
- ภายในกระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคติดต่อทั่วไป, สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3-7, สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, สุราษฎร์ธานี, สตูล, ตรัง, ปัตตานี, นราธิวาส - ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่หน่วยงานที่อยู่ในสังกัด กระทรวงคมนาคม กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม

19 4. มาตรการดำเนินงาน : มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักตามกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 มาตรการที่ 2 พัฒนา คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงานมาตรฐานการ ปฏิบัติงาน ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ มาตรการที่ 3 ติดตามกำกับ และประเมินผลการพัฒนาช่อง ทางเข้าออกประเทศ มาตรการที่ 4 การสนับสนุนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

20 5. แนวทางการติดตามประเมินผล :
1. ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออก ประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) และส่งผลการประเมินให้ หน่วยงานต้นสังกัด 2. สคร.รายงานเป็นไตรมาส ตามแบบฟอร์มที่กองแผนงานกำหนด (SAR ในระบบ ESM) ตามตัวชี้วัดที่กำหนด

21 6. ข้อเสนอแนะ - การประเมินด่านของ สป. เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ไม่ได้นำมา เป็นตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ในปี 2558 - ให้มีการประเมินเปรียบเทียบระหว่างด่านสังกัดกรมฯ และด่าน สังกัด สป. - ให้นำผลการวิเคราะห์การประเมินตนเอง (Self Assessment) ของด่านแต่ละแห่งมาเป็นข้อมูลในการประชุม วันที่ พ.ย. 57 เพื่อพัฒนาในส่วนที่ขาดต่อไป

22 6. ข้อเสนอแนะ - การประเมินด่านของ สป. เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ไม่ได้นำมาเป็นตัวชี้วัดผ่านเกณฑ์ในปี 2558 - ให้มีการประเมินเปรียบเทียบระหว่างด่านสังกัดกรมฯ และด่านสังกัด สป. - ให้นำผลการวิเคราะห์การประเมินตนเอง (Self Assessment) ของด่านแต่ละแห่งมาเป็นข้อมูลในการประชุม วันที่ พ.ย. 57 เพื่อพัฒนาในส่วนที่ขาดต่อไป

23 โครงการสำคัญที่ 15 พัฒนางานวิจัยและวิชาการ
โครงการสำคัญที่ 15 พัฒนางานวิจัยและวิชาการ

24 1. ค่าเป้าหมาย / 2. พื้นที่เป้าหมาย / 3. เครือข่าย
ตัวชี้วัด: จำนวนองค์ความรู้ ผลงานวิชาการและงานวิจัยที่ได้มาตรฐานและ ตอบสนองความต้องการของประชาชนและการพัฒนาระบบสาธารณสุข ตัวชี้วัด: ร้อยละ 80 ของผลการวิจัยด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค (ปี 55 – 57) มีการนำเสนอและเผยแพร่ เป้าหมาย หน่วยงานเป้าหมาย หมายเหตุ การดำเนินงานวิจัยให้มาตรฐาน ของหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยและวิขาการ กรมฯ (งบรายจ่ายอื่น) สำนัก/สถาบัน/สคร.ที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินงานวิจัย เป้าหมาย 39 เรื่อง จาก 67เรื่อง (เอกสารที่แจก) 2. ประเมินเทคโนโลยีการควบคุมโรคที่สำคัญ หน่วยงานที่สนใจ สคร. 1,10 ส.วัณโรค ส.โรคแมลง ส.โรคติดต่อทั่วไป 2 เรื่อง พัฒนาคน 24 คน 3. หัวข้อความรู้จากผู้เชี่ยวชาญของหน่วยงาน สคร. 12 เขต แห่งละ 3 เรื่อง (เป้าหมาย 34 เรื่อง) 4. ผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานที่ได้มาตรฐานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ทุกหน่วยงาน ผลิตภัณฑ์พร้อมใช้ 9 เรื่อง

25 4. มาตรการดำเนินงาน : การบริหารจัดการงานวิจัย การจัดการความรู้
ผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานที่ได้มาตรฐานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การประเมินเทคโนโลยีการควบคุมโรค

26 5. แนวทางการติดตามประเมินผล :
1. การนิเทศ/ตรวจเยี่ยมโครงการวิจัย 2. ติดตามการรายงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 3. รายงานผลการดำเนินงานในระบบ estimates รายไตรมาส

27 6. ข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่ไม่มีผลงานวิชาการ ให้พิจารณานำการจัดทำมาตรฐาน แนวทาง คู่มือ จากผลการดำเนินงานของหน่วยงานเอง มาตอบตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ที่ 2

28 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google