งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ
ความคิดรากฐาน การสอนคนให้เป็นคนดี โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ

2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
กาย รู้จัก เข้าใจ ควบคุมตนเองได้ ๔/๑

3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
จิต จิตสงบ นุ่มนวล มีกำลังใจ กล้าหาญ

4 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ปัญญา รักษาตนเอง ประกอบสัมมาอาชีวะ พัฒนาสังคม ประเทศ เป็นพลเมืองดี ประกอบคุณความดี

5 ศึกษามาก รู้จักตนเองมากขึ้น ๔/๑

6 คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ
คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ ความสำนึกรับผิดชอบต่อศักดิ์และศรีของความเป็น มนุษย์ของตน งดเว้นจากการทำกรรมกิเลส ๔ ความสำนึกรับผิดชอบต่อศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ ของผู้อยู่ร่วมสังคม โดยเว้นขาดจากการมีอคติ ๔ ๔/๒

7 คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ
คุณสมบัติพื้นฐานของคนดี ๔ ประการ ๓. ความสำนึกรับผิดชอบต่อศีลธรรมทาง เศรษฐกิจ โดยเว้นขาดจากอบายมุขทั้งปวง ๔. ความสำนึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ทิศ ๖ และทรัพยากรธรรมชาติ ๔/๒

8 หลักการสอนที่แท้จริงคืออะไร
“การศึกษาต้องสร้างคนดี คือ ทำคนให้เป็นคนดี ไม่ใช้สร้างคนเก่งอย่างเดียว สังคมต้องการทั้งคน เก่ง และคนดี ปัญหาสำคัญอยู่ที่ว่า ระหว่างคนเก่ง และ คนดี อย่างไหนควรมาก่อน”

9 “การที่ประเทศไทยจัดระบบการศึกษาตามประเทศต่าง ๆ แล้วคิดว่าการสร้างคนเก่งขึ้นมาเป็นเรื่องสำคัญ ขณะที่โรงเรียนก็สอนคนให้เก่งที่สุด เพื่อสอบแข่งขันเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนมหาวิทยาลัยก็คัดเลือกเฉพาะคนเก่งที่สุด มีคะแนนสูงสุดเข้ามาในระบบ ซึ่งระบบการแข่งขันเอาชนะกัน สร้างคนเก่งขึ้นมากลับกลายสร้างปัญหาหลายอย่างตามมา ขณะที่ผู้บริหารสูงสุดในระบบการศึกษาก็เปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาอยู่ได้ไม่นาน แต่ละคนมีนโยบายแตกต่างกัน จนสร้างความสับสนในระบบการศึกษา” นายอาจอง  ชุมสาย ณ อยุธยา

10 เปลี่ยนการศึกษา เน้น “ความดี” ก่อน คิดถึงส่วนรวม ไม่เห็นแก่ตัว

11 ปัจจัยในการสร้างคนดี
ครูดี เป็นปัจจัยสำคัญที่สุด โดยคุณสมบัติต้องเป็นครูที่พูดทุกอย่างออกมาจากใจ สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ฟัง การฝึกสมาธิ ต้องยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น

12 หลักการสอนที่แท้จริง
ให้ความสำคัญกับ นิสัย > วิชาการ คุณธรรม ทฤษฎี แสดงพฤติกรรมต่อเนื่องจนคุ้นชิน ๔/๓

13 ที่ควรปลูกฝังให้กับผู้เรียน
สะอาด อดทน ระเบียบ นิสัยพื้นฐาน ที่ควรปลูกฝังให้กับผู้เรียน สุภาพ วินัย เคารพ ใฝ่รักษาสุขภาพ ใฝ่ทำดี ใฝ่เรียนรู้ ตรงเวลา ๔/๓

14       “เราไม่อาจปลูกต้นไม้ให้งอกงาม   ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยมลพิษ ฉันใด การศึกษาของชาติก็ไม่อาจสร้างคนให้เป็นคนดีได้ หากปราศจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะแก่การสร้างคนดี ฉันนั้น ”

15 นักเรียนต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมต้นแบบที่ดี
หลักการปลูกฝังนิสัย นักเรียนต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมต้นแบบที่ดี วัฒนธรรม คน วัตถุ

16 การจัดการเรียนการสอนตามหลักวุฒิธรรม ๔
๑. ครูเป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ ๒. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ให้ลึกซึ้งถูกต้อง ๓. สอนโดยตั้งคำถาม What, Why, How, If…then ๔. นำผู้เรียนในการนำความรู้ไปปฏิบัติ ๔/๓

17 กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี
๑. กิจกรรมศีลธรรม การปลูกสัมมาทิฐิ ๑๐ และการปลูกสัมมาสมาธิ การให้ทาน การฟังเทศน์ การสวดมนต์ ๔/๔ การยกย่องคนดี

18 กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี
๒. กิจกรรมวิชาการ การปลูกสัมมาสังกัปปะ การคิดวิเคราะห์ แยกแยะสิ่งดี/ชั่ว ประยุกต์ความรู้ ๘ กลุ่มสาระ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๔/๔

19 กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี
๓. กิจกรรมสังคม การปลูกสัมมาวาจา และมารยาทดีงาม การฝึกพูดแสดงความคิดเห็นเป็น การฝึกมารยาทในการพูด การฝึกการวางตัวให้เหมาะสม ๔/๔

20 กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี
๔. กิจกรรมดำรงชีวิต การปลูกสัมมากัมมันตะ การดูแลสุขภาพเบื้องต้น การรู้จักใช้และรักษาปัจจัย ๔ การฝึกมารยาทในการดำรงชีวิต ๔/๔

21 กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี
๕. กิจกรรมอาชีพ การปลูกสัมมาอาชีวะ การหาทรัพย์เป็น การเก็บรักษาและการใช้ทรัพย์เป็น การสร้างเครือข่ายคนดี ๔/๔

22 กิจกรรม ๖ เพื่อการสร้างนิสัยที่ดี
๖. กิจกรรมนันทนาการ การพักผ่อนเป็น การทำสมาธิ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๔/๔

23 มรรค ๘ ๔/๕ (มรรค = อริยมรรค = มัชฌิมาปฏิปทา = มรรคแปด =
ทางดำเนินชีวิตอันประเสริฐ = ทางสายกลาง) แนวทางดำเนินอันประเสริฐของชีวิตหรือกาย วาจา ใจ เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์ ๔/๕

24 มรรค ๘ ๑.เข้าใจถูก ๒.มีความคิดถูก ๓.มีวาจาถูก ๔.กระทำถูก ๕.มีอาชีพถูก
๖.พยายามถูก ๘.จิตตั้งมั่นถูก ๗.ระลึกตัวถูก

25 การออกแบบการเรียนรู้ตามหลักวุฒิธรรม ๔
๑. หาครูดี : รู้ค้นคว้า ๒.ฟังคำครู : รู้เข้าใจ ๓. ตรองคำครู : รู้คิด ๔. ปฏิบัติตามจนได้ดีเหมือนครู : รู้ปฏิบัติและนำไปใช้ ๔/๕

26 “นอกจากการศึกษาจะสอนให้คนเก่งแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะอบรมให้ดีไปพร้อมกับ ไปด้วย ประเทศไทยเราจึงจะได้คนที่มี คุณภาพ คือทั้งเก่ง ทั้งดี มาเป็นกำลัง ของบ้านเมืองให้เป็นความเก่งเป็นปัจจัย และพลังสำหรับสร้างสรรค์ และให้ความ ดีเป็นปัจจัยเพื่อประคับประคองหนุนนำ ความเก่ง ให้เป็นไปในทางทีถูกอำนวย ผล เป็นประโยชน์อันพึงประสงค์” พระราชบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดช


ดาวน์โหลด ppt โดย..ครูจิตติมา ร่วมชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google