ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
เป็นตัวแปรที่สามารถใช้วัดผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานแต่ละด้านขององค์การให้ออกมาเป็น ตัวเลขที่ชัดเจน โดยสามารถสะท้อนให้เห็นทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ เพื่อบอกว่าองค์การ บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ ประเภทตัวชี้วัด (KPI) ใน RBMS ตัวชี้วัดผลผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ หรือ ประสิทธิผล ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า KPI ต้องสั้น เข้าใจง่าย และเน้นที่วัตถุประสงค์หลัก KPI ต้องมีความหมายและเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง KPI ต้องสามารถวัดได้ทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ KPI สามารถคำนวณได้โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานจากการนับ วัด หรือแบบ สอบถาม
2
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน แบ่งเป็น 4 มิติ
การปฏิบัติวิจัย (Research) ความสามารถในการวิจัยและพัฒนาที่นำมาใช้ได้จริง ประสิทธิผล (Effectiveness) ความสามารถในการปฏิบัติ งานในภารกิจหลัก ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร เมื่อเทียบกับผลผลิตที่ทำได้ การให้บริการ (Customer Service) ความสามารถในการให้บริการที่สะดวก รวดเร็ว เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการ
3
ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพ (Efficiency KPls)
4
ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผล (Effectiveness KPls)
5
ตัวชี้วัดด้านการให้บริการ (Customer Service KPls)
6
ตัวชี้วัดด้านการปฏิบัติวิจัย (Research KPls)
7
สถิติสำคัญ คือ ข้อมูลพื้นฐานที่แสดงถึงขอบเขตความรับผิดชอบ สถานภาพ และการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์กร) ข้อมูลสถิติโดยทั่วไป ได้แก่ ประชากร ทรัพยากรสาธารณสุข บริการสาธารณสุข ข้อมูลสถานะสุขภาพ ได้แก่ สถิติชีพ การสำรวจสภาวะสุขภาพ ข้อมูลสถานะของการทำงานในกระบวนงานหลัก ได้แก่ จำนวนงานเข้าออก ในแต่ละประเภทงาน จำนวนงานที่อยู่ระหว่างดำเนินงานในแต่ละประเภทงาน (งานค้าง)
8
จัดทำรายละเอียด KPI ที่กำหนด
ชื่อตัวชี้วัด ความหมายของตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ที่กำหนดให้มีตัวชี้วัดนี้ ประโยชน์ที่ได้รับ สูตรการคำนวณ การหาค่าตัวแปร ในแต่ละ KPI ค่าของตัวชี้วัดที่คำนวณได้ แหล่งที่มาของข้อมูล เก็บจากหน่วยงานไหน ใครเป็น ผู้รับผิดชอบข้อมูล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.