ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
2
ปัญหาในงานสหกิจศึกษา
๑. ปัญหาที่เกิดจากนักศึกษา ๒. ปัญหาที่เกิดจากสถานประกอบการ ๓. ปัญหาที่เกิดจากคณาจารย์นิเทศ ๔. ปัญหาที่เกิดจากสถานศึกษา ๕. ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยอื่นๆ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
3
ประเด็นปัญหาของนักศึกสหกิจศึกษา
๑. ปัญหาด้านความรู้ความสามารถในการทำงาน ๒. ปัญหาการปรับตัว สังคมการทำงาน การทำงานร่วมกับผู้อื่น การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
4
ประเด็นปัญหาของนักศึกษาสหกิจศึกษา
๓. ปัญหาชีวิตส่วนตัว ชู้สาว เงินไม่พอใช้ สุขภาพ ๔. ปัญหาเกี่ยวกับโครงงาน/งานประจำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
5
ประเด็นปัญหาที่เกิดจากคณาจารย์สหกิจศึกษา
๑. ขาดความรู้ความเข้าใจปรัชญา สหกิจศึกษา ๒. ไม่มีเวลาในการไปนิเทศงาน ๓. ไม่มีเวลาในการให้คำปรึกษาและแนะนำ นักศึกษา ๔. ภาระงานสหกิจศึกษาที่มากเกินไป การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
6
ประเด็นปัญหาที่เกิดจากสถานประกอบการ
๑. ขาดความรู้ความเข้าใจปรัชญาสหกิจศึกษา ๒. ขาดบุคลากรด้านสหกิจศึกษา ๓. นโยบายสหกิจศึกษาที่ไม่ชัดเจน(ไม่มีผลตอบแทนให้นักศึกษา) ๔. ผู้นิเทศงานไม่มีเวลาให้นักศึกษา ๕. การมอบหมายงานและโครงงานที่ไม่มีคุณภาพ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
7
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
ที่มา ของปัญหา ขาดความรู้ความเข้าใจปรัชญาสหกิจศึกษา ขาดบุคลากรด้านสหกิจศึกษา (ปริมาณ คุณภาพ) ขาดกระบวนการเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพ ขาดกระบวนการสรรหา จับคู่สถานประกอบการที่มีประสิทธิภาพ นโยบายด้านสหกิจศึกษาไม่ชัดเจน การบริหารจัดการที่ไม่มีประสิทธิภาพ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
8
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ได้รับแจ้งจากสถานประกอบการว่านักศึกษาขอลากลับไปทำกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย - ตรวจสอบหาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - ประสานงานคุยกับนักศึกษา - ประสานงานทำความเข้าใจกับสถานประกอบการ - ทำหนังสือตักเตือนและทัณฑ์บนนักศึกษา 2. นักศึกษาขอเปลี่ยนสถานประกอบการด้วยเหตุไม่ชอบสภาพการทำงานของที่เดิม - พูดคุยกับนักศึกษาเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง - โน้มน้าวใจให้เห็นถึงประโยชน์ที่นักศึกษาจะได้รับในการปฏิบัติ - พูดคุยกับนักศึกษาถึงทางออก การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
9
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 3. ได้รับ Fax แจ้งว่านักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสม โดยมีความสัมพันธ์เชิงลึกกับ รปภ. - หาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - หาข้อมูลเพิ่มเติมจากเพื่อนนักศึกษา - ตรวจสอบประวัติย้อนหลังของนักศึกษา - ประสานงานคุยกับนักศึกษา - ประสานงานหาข้อมูลเพิ่มเติมจากสถานประกอบการ 4. นักศึกษาแพ้สารเคมีในระหว่างการปฏิบัติงาน - พูดคุยกับนักศึกษาเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง - ประสานงานสถานประกอบการเพื่อปรับเปลี่ยนภาระงานที่ต้องปฏิบัติงาน - แจ้งข้อมูลนักศึกษาทราบเพื่อปฏิบัติ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
10
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 5. สถานประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานให้นักศึกษาไม่ผ่าน เพื่อให้นักศึกษายังคงปฏิบัติงานต่อ - หาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - ตั้งคณะกรรมการภายในประเมินผล 6. สถานประกอบการแจ้งพบข้อมูลไม่เหมาะสมในรายงานสหกิจศึกษาซึ่งส่งผลต่อภาพลักษณ์องค์กร จึงต้องการฟ้องร้องมหาวิทยาลัย - ติดต่อกลับไปยังสถานประกอบการ - พูดคุยกับคณบดี - หาข้อมูลที่ชัดเจนกับหัวหน้าสาขาและอาจารย์ที่ปรึกษา - ประสานงานสถานประกอบการเพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา - ออกหนังสือถึงสถานประกอบการและเข้าพบเพื่อแสดงความจริงใจในการรับผิดชอบ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
11
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 7. ผู้นิเทศงานไม่มีเวลาในการให้คำปรึกษาและดูแลนักศึกษาสหกิจศึกษา - แนะนำนักศึกษาในการเข้าหารือกับผู้นิเทศงาน เพื่อกำหนดเวลาที่ชัดเจนในการขอเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและรายงานความคืบหน้าในการปฏิบัติงาน - จัดทำแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน - นักศึกษาต้องขยันและช่วยเหลือตนเองมากยิ่งขึ้น โดยอาจต้องหาพี่พนักงานคนอื่นให้ความช่วยเหลือ - อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือมากขึ้น การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
12
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
บัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา 8. นักศึกษาได้รับการมอบหมายงานที่ไม่เหมาะสม และไม่ตรงตามที่เคยได้มีการตกลงกันไว้ - หาข้อมูลเบื้องต้นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง - แนะนำให้นักศึกษาพูดคุยกับผู้นิเทศงานเพื่อขอทราบแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน - อาจารย์ที่ปรึกษาติดต่อประสานงานกับผู้นิเทศงานเพื่อหารือเกี่ยวกับลักษณะงาน 9. นักศึกษาหนีงานด้วยไม่สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายได้ โดยไม่แจ้ง - ติดต่อนักศึกษาเพื่อหาข้อมูลที่แท้จริง - ประสานแจ้งสถานประกอบการทราบ - แจ้งนักศึกษาทราบถึงโทษที่นักศึกษาได้กระทำไป การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
13
กระบวนการแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
14
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
กระบวนการแก้ไขปัญหา ๑.๑ การสำรวจปัญหาหรือสาเหตุ ๑.๒ การวินิจฉัยปัญหาและวางแผนแก้ปัญหา ๑.๓ ดำเนินการแก้ไขปัญหา ๑.๔ การสรุปและประเมินผล การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
15
๑.๑ การสำรวจปัญหาหรือสาเหตุ
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
16
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การสำรวจปัญหาหรือสาเหตุ:- การตั้งคำถามและใช้น้ำเสียงอย่างเหมาะสม การใส่ใจในการฟัง อดทนฟัง การสังเกตพฤติกรรมในระหว่างสนทนา วางตนเป็นกลาง พิจารณาจากสภาพจริง ไม่ใส่ความรู้สึกส่วนตัว ชี้ประเด็นปัญหาและให้กำลังใจ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
17
หลักการประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา “ผลกระทบที่เกิดจากปัญหา”
๑.๒ การวินิจฉัยปัญหาและการวางแผนแก้ปัญหา หลักการประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา “ผลกระทบที่เกิดจากปัญหา” รุนแรงน้อย รุนแรงมาก รุนแรงปานกลาง รุนแรงมากที่สุด
18
การวินิจฉัยปัญหาและการวางแผนแก้ปัญหา
ให้นักศึกษาเสนอทางเลือกในการแก้ปัญหา ร่วมให้ข้อมูลเพื่อพิจารณาทางเลือก ชี้แนะถึงผลที่จะตามมา สรุปความ มีเป้าหมายในการ วางแผน มีข้อมูลสำหรับ วางแผนแก้ปัญหา เกิดกำลังใจ ตัดสินใจด้วยตนเอง การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
19
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
๑.๓ ดำเนินการแก้ไขปัญหา ลงมือแก้ไขปัญหาทันทีตามแนวทางที่ได้วางแผนไว้ “...ด้วยตนเอง หรือ ผู้อื่นร่วมด้วย...” การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
20
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
๑.๔ การสรุปและประเมินผล “ ต้องสรุปผลการแก้ไขปัญหา นำเสนอต่อทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง.....” KM การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
21
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
บทสรุป คณาจารย์นิเทศต้องให้คำปรึกษาทั้งปัญหาการปรับตัว ปัญหาการปฏิบัติงาน/จัดทำโครงงาน และปัญหาส่วนตัว คณาจารย์นิเทศต้องแสดงความจริงใจ พร้อมให้ความ ช่วยเหลือโดยคำนึงถึงประโยชน์ของนักศึกษา สถาน ประกอบการ win win win การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
22
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
บทสรุป คณาจารย์นิเทศต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยยึดมั่นหลัก คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการแก้ไขปัญหา ไม่มีคำตอบสำเร็จรูปหรือตายตัว ในการแก้ไขปัญหาไม่ใช่การตัดสินชี้ถูกผิด การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
23
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
การฟัง การสังเกต การถาม ทักษะพื้นฐาน ที่จำเป็น การเงียบ การทวนซ้ำ การสะท้อนความรู้สึก การสรุปความ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
24
แนวทางการป้องกันปัญหาในงานสหกิจศึกษา
สร้างความรู้ความเข้าใจปรัชญา หลักการสหกิจศึกษา กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง กำหนดนโยบายด้านสหกิจศึกษาที่ชัดเจน มีการบริหารจัดการงานสหกิจศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีคู่มือ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน(รวมถึงเอกสาร แบบฟอร์ม) การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
25
แนวทางการป้องกันปัญหาในงานสหกิจศึกษา
มีกระบวนการคัดเลือก จับคู่สถานประกอบการกับนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีกระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนสหกิจศึกษา(อาจารย์ นักศึกษา และสถานประกอบการ) มีการจัดทำการจัดการความรู้(KM) ด้านสหกิจศึกษา สานความสัมพันธ์กับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
26
การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A. Atcharaporn@2011
Q&A การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหา By A.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.