งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทิศทางการขับเคลื่อน... กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น นพ.ชลอ ศานติวรางคณา ผอ.สปสช.เขต ๔ สระบุรี

2 ทิศทางการพัฒนากองทุน...
ท้องถิ่นดำเนินงานร่วมกับภาคี Work - out 2549 ทำให้กองทุนฯทำงานให้ได้ Function จัดตั้งกองทุนฯให้ได้ Setting นำร่องอำเภอละ 1 แห่ง Imprement

3 เป้าหมาย ประชาชน - สุขภาพดี ชุมชน - เข้มแข็ง สังคม - อยู่ดีมีสุข
ชุมชน - เข้มแข็ง สังคม - อยู่ดีมีสุข เมืองไทย - แข็งแรง

4 ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน
ส่งเสริมสนับสนุนให้ อบต./เทศบาล ประชาชน หน่วยบริการ และภาคีสุขภาพ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบสุขภาพในระดับท้องถิ่นได้อย่างเข้มแข็ง และรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน

5 หลักการสำคัญของกองทุนฯ
การกระจายอำนาจ (การตัดสินใจ.เงิน) เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟู ที่บ้านและในชุมชน สร้างความร่วมมือ ระหว่าง อปท., หน่วยบริการ ภาคประชาชน และองค์กรอื่นๆ

6 หลักการสำคัญของกองทุนฯ
สร้างการมีส่วนร่วมและการเป็นเจ้าของระบบสุขภาพของประชาชน สร้างนวัตกรรมในการดูแลสุขภาพโดยชุมชนและประชาชน เสริมศักยภาพท้องถิ่น ในการบริหารจัดการ และดำเนินงานสร้างสุขภาพในชุมชน

7 หัวใจสำคัญ ความร่วมมือ ของสามภาคหลัก ภาคประชาชน/เอกชน อสม./จิตอาสา
ท้องถิ่น อบต./เทศบาล ภาคประชาชน/เอกชน อสม./จิตอาสา เครือข่าย,กลุ่มต่างๆ สาธารณสุข รพ./รพสต. สสจ./สสอ. หัวใจสำคัญ ความร่วมมือ ของสามภาคหลัก

8 รพ.ชุมชน รร.แพทย์ รพศ. รพสต. ศูนย์บริการสาธารณสุข
ระบบบริการขั้นสูง ระบบบริการปฐมภูมิ กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ รพสต. ศูนย์บริการสาธารณสุข รพ.ชุมชน รพศ. รร.แพทย์ ระบบชุมชนดูแลกันเอง (Primary care) (Community care) งานสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ งานโรคเรื้อรัง (เบาหวาน,ความดันโลหิตสูง) งานฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ งานแพทย์แผนไทย (เน้นผู้ป่วยติดเตียง) งานด้านจิตอาสา,อาสาสมัคร(ผู้ดูแลผู้สูงอายุ,คนพิการคนด้อยโอกาสในชุมชน งานบริหารจัดการงานสาธารณสุขในสถานการณ์อุทกภัย

9 ปี 2556… ขับเคลื่อนสู่ “กองทุนคุณภาพ”

10 ปี 2556… ศักยภาพคณะกรรมการฯ “คุณภาพกองทุน”

11 งานเน้นหนักของกองทุนฯ ปี 2556
1). ทุกกองทุนฯ มีข้อมูลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีแผน สุขภาพชุมชน หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ชุมชนร่วมกับหน่วย บริการ 2). ทุกกองทุนฯ มีการตรวจคัดกรอง สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค เรื้อรัง เน้นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเอดส์ และวัณ โรค 3). ทุกกองทุนฯ มีกิจกรรมและอาสาสมัครดูแลส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสร่วมกับหน่วยบริการและท้องถิ่น 4). ทุกกองทุนฯ มีการสมทบงบประมาณรายปี ตามเกณฑ์ (กองทุน เก่า ภายใน ธ.ค. /ใหม่ภายใน ม.ค.)

12 เป้าหมายและงานเน้นหนักของกองทุนฯ ปี 2556
5). ทุกกองทุนฯมีการติดตามประเมินผลกองทุน ทั้งภายในและภายนอก และมีการรายงาน ข้อมูลการดำเนินงาน ผ่านโปรแกรมออนไลน์ 6). ทุกจังหวัดมีกองทุนต้นแบบเป็นศูนย์เรียนรู้ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อำเภอละ ๑ แห่ง 7). ทุกกองทุนฯมีการสนับสนุนงบประมาณตาม แผนงานโครงการและมีเงินคงเหลือในบัญชี ไม่ ควรเกิน 20% ของเงินทั้งหมดในบัญชี

13 ทิศทางการขับเคลื่อนและสิ่งที่แตกต่างจาก ปี 2555
ปี 2556 เป้าหมายงานสร้างสุขภาวะในชุมชนเป็นงานปกติของ อบต./เทศบาล เน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม และหน่วยงานอื่น พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการให้ครอบคลุมมากขึ้น ยกระดับการพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลจากความครอบคลุมเป็นการพัฒนาเชิงคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งของกองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนลูกข่ายในพื้นที่ ให้ความสำคัญเรื่องการรายงานผลและการนำข้อมูลไปใช้ร่วมกัน ปี 2555 เป้าหมายให้กองทุนฯทำงานให้ได้ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่คณะกรรมการและค้นหานวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคใหม่ๆ ในพื้นที่ จัดตั้งศูนย์เรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอ เน้นบทบาทหน่วยงานสาธารณสุขและสร้างความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่ร่วมกัน

14 ทิศทางการขับเคลื่อนและสิ่งที่แตกต่างจาก ปี 2555 (2)
ปี 2556 เน้นการดำเนินงานให้คลอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น โดยกิจกรรม/โครงการชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน(ผู้พิการ,ผู้สูงอายุ,ผู้ยากไร้) เน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เน้นถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ และขยายผล สปสช.ลงพื้นที่มากขึ้น และมีเวทีพบกองทุนระดับพื้นที่มากขึ้น (กองทุน/สสอ.) การสื่อสาร / เครื่องมือที่ต้องพัฒนาต่อเนื่อง ยกระดับกองทุนฯ เกรด B , C เป็นกองทุนเกรด A, A+


ดาวน์โหลด ppt กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google