ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสืบพันธุ์ของพืช
2
การสืบพันธุ์ของพืช Pollination Fertilization Plant Seed
3
การสืบพันธุ์ของพืช Pollination
การถ่ายละอองเกสรของดอกไม้ ละอองเกสรตัวผู้ไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย
4
การสืบพันธุ์ของพืช Fertilization
ละอองเกสรตัวผู้งอกลงไปผสมกับไข่ของต้นแม่ เกิดการรวมตัวกันที่เรียกว่า double fertilization
5
โครงสร้างของดอกไม้ ดอกไม้ประกอบด้วย กลีบดอก: sepal, petal
ชั้นเกสร: เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย
6
โครงสร้างของดอกไม้ ดอกสมบูรณ์ (complete flower)
ดอกไม้ที่มีชั้นของกลีบดอกครบ ประกอบด้วย ชั้นรองดอก (receptacle), กลีบดอก (sepal and petal), เกสรตัวผู้ และ เกสรตัวเมีย (stamen and pistil)
7
โครงสร้างของดอกไม้ ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower)
ดอกที่มีชั้นของเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน
9
เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้ กลีบดอก กลีบเลี้ยง
18
สัณฐานวิทยาของดอกไม้
เป็นตัวกำหนดวิธีการถ่ายละอองเกสรของดอกไม้ ทำให้แบ่งดอกไม้ออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ด้วยกัน ผสมตัวเอง (selfed pollination) ผสมข้าม (crossed pollination)
19
พืชผสมตัวเอง ผสมตัวเองก่อนดอกบาน
- ไม่บาน (cleistogamy) e.g. violet, impatien - บาน (chasogamy) e.g. lettuce, tomato, rice, beans
21
พืชผสมข้าม เกสรตัวผู้และตัวเมียไม่อยู่ในภาวะที่จะผสมตัวเองได้เนื่องมาจาก ตัวผู้และตัวเมียอยู่กันคนละดอกบนต้นเดียวกัน (monoecious) e.g. corn, begonia ขนุน
22
พืชผสมข้าม 2. ตัวผู้และตัวเมียอยู่กันคนละดอกในแต่ละต้น (dioecious)
e.g. อินทผาลัม หน่อไม้ฝรั่ง ผักปวยเล้ง
23
พืชผสมข้าม 3. ตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกันแต่มีความพร้อมในการผสมพันธุ์ในเวลาที่ต่างกัน protogyny ตัวเมียพร้อมผสมก่อน e.g. หน้าวัว เดหลี
24
pistillate pollen
25
พืชผสมข้าม protandry ตัวผู้พร้อมผสมก่อน e.g. lettuce แครอท 4. อื่นๆ
ชบา เกสรตัวเมียชูอยู่เหนือเกสรตัวผู้
27
พืชผสมข้าม Aglonema เกสรตัวเมียถูกห่อหุ้มด้วยฐานรองดอก
ลิ้นจี่ ลำไย อุณหภูมิมีผลต่อการเกิดเพศของดอก
29
ray flower disc flower
30
การถ่ายละอองเกสร การปรับปรุงพันธุ์ ต้องการสร้างสายพันธุ์ใหม่ให้เป็นไปตามที่ต้องการ พืชผสมตัวเอง ป้องกันไม่ให้มีการผสมตัวเอง พืชผสมข้าม ต้องมั่นใจว่าไม่มีการแปดเปื้อนจากต้นที่ไม่ต้องการ
31
การถ่ายละอองเกสร การตอน (emusculation)
การทำหมัน โดยการตัดเอาส่วนของเกสรตัวผู้ออกก่อน เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีการผสมตัวเอง ในกรณีของพืชผสมข้าม ต้องเอาถุงครอบไว้ก่อน ไม่ให้มีการถ่ายละอองเกสร
32
การถ่ายละอองเกสร
33
การถ่ายละอองเกสร
34
การถ่ายละอองเกสร
35
การถ่ายละอองเกสร
36
การผสมพันธุ์ Pollination Fertilization
ก่อนการถ่ายละอองเกสรมี 2 ขบวนการที่เกิดขึ้นในพืช การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
37
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
microsporogenesis 2n Microspore (n 4 อัน) n 1 อัน = pollen nuclei 1/2 generative cells meiosis mitosis mitosis
38
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
megasporogenesis 2n egg cell 1 ใบ meiosis Mitosis 2 times antipodal Polar nuclei egg synergids
39
การผสมพันธุ์ generative cells เข้าสู่ micropyle ตัวที่หนึ่ง ผสมกับ egg zygote ตัวที่สองผสมกับ polar nuclei ไปเป็น endosperm เกิด double fertilization
40
การถ่ายละอองเกสร ลม น้ำ แมลง สัตว์ เช่น นก หนู คน
41
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายละอองเกสร
ปัจจัยภายใน 1.1 ยีน พืชบางชนิดมียีนควบคุม พบในพืชพวก dioecy มียีน M ทำหน้าที่ควบคุม Mm เป็นตัวผู้ mm เป็นตัวเมีย
42
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายละอองเกสร
1.2 ความเข้ากันไม่ได้ของเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย (self incompatibility) เป็นผลเนื่องมาจากโปรตีน แบ่งเป็น 2 ประเภทด้วยกัน gametophytic incompatibility Sporophytic incompatibility
46
Gametophytic incompatibility
โปรตีนที่ยอดเกสรตัวเมียเหมือนกับโปรตีนที่มาจากเกสรตัวผู้ เฉพาะตัวที่มีโปรตีนเหมือนกัน S1S x S1S2 ไม่ได้ S1S2 x S2S3 ได้ ได้ S1S3 เท่านั้น การทำงานเป็นอิสระ
47
sporophytic incompatibility
โปรตีนที่ยอดเกสรตัวเมียกับโปรตีนที่มาจากเกสรตัวผู้ มีการข่มกัน S1>S2>S3>S4 S1S2 x S1S2, S1S3 x S1S2ไม่ได้ S2S3 x S1S2 ได้ เพราะ S1 ของต้นพ่อ สามารถข่ม S2 และ S3 ของต้นแม่ได้
48
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายละอองเกสร
2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการผสมพันธุ์ของพืช อุณหภูมิ ลม แสงแดด ความชื้น และฝน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.