ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
ทรงพระเจริญ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ Medical Rehabilitation Fund นายธวัช เหลี่ยมสมบัติ กลุ่มงานสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคี สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 4 สระบุรี
2
เป้าประสงค์ (Goal) คนพิการ ผู้ป่วยระยะฟื้นฟูและผู้สูงอายุ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทาง การแพทย์ที่มีคุณภาพ และด้วยระบบจัดการที่มีประสิทธิภาพ...
3
เป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่ต้องการในการดำเนินงาน ปี 55
หน่วยบริการระดับ รพช.ขึ้นไป มีระบบ ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 1 รพ.สต. และกองทุน อบต./เทศบาล ร่วมเป็น เครือข่ายให้บริการฟื้นฟูฯ 2 เกิดรูปแบบ การร่วม ให้บริการฟื้นฟูขององค์กรคนพิการ ชุมชน และ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร 3 องค์กรคนพิการพัฒนาศักยภาพขยายกลุ่มเครือข่ายร่วมพัฒนาระบบบริการ 4 เกิดกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด 5 ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วย sub acute ได้รับการฟื้นฟูฯ และอุปกรณ์ฯ ที่จำเป็น เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 6 มีระบบข้อมูลคนพิการ และระบบรายงานผลการให้บริการผ่านระบบ IT 7
4
กลุ่มที่มีความจำเป็นต้องฟื้นฟูหลังเจ็บป่วยเฉียบพลัน
เป้าหมาย กลุ่มที่มีความจำเป็นต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มที่มีความจำเป็นต้องฟื้นฟูหลังเจ็บป่วยเฉียบพลัน ผู้ป่วย ที่จำเป็น
5
กิจกรรมดำเนินงาน ปี 2555 1) การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการแก่คนพิการทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2) การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ แก่ผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ที่มีความจำเป็นต้องฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการต่อเนื่อง ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 3) คนพิการทางการมองเห็น(คนตาบอด)ได้รับการฝึกทักษะการเดินด้วยไม้เท้าขาว 4) คนพิการทางการได้ยินได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง 5) หน่วยบริการและองค์กรเครือข่ายคนพิการ ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาระบบบริการ การดูแล การช่วยเหลือ ร่วมกันในชุมชน 6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ.) ร่วมจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด
6
กรอบการบริหารกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ เขต 4 สระบุรี
ค่าบริการและอุปกรณ์ ในหน่วยบริการ เหมาจ่าย ล่วงหน้า ชดเชยเพิ่มเติม + 1 ค่าบริการและอุปกรณ์ (41.8 ลบ.) ค่าบริการในชุมชน เงื่อนไข - นโยบาย มีนักกายภาพ มีโครงสร้าง/ คกก. มีผลงานให้บริการ มีข้อมูลคนพิการ ค่าฝึกอบรมโครงการ ไม้เท้าขาว : คนพิการตาบอด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง : คนพิการทางการได้ยิน ได้รับจัดสรร (47.16 ลบ.) รายงานผ่านโปรแกรม Online ค่าจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูฯจังหวัด พัฒนาระบบในบริการ ตามความพร้อม หน่วยบริการ ค่าสนับสนุนและส่งเสริมจัดบริการ (5.3 ลบ.) พัฒนาศักยภาพองค์กร คนพิการ/ผู้ดูแล บูรณาการ สสจ. 2 พัฒนากำลังคนด้านกายภาพ (กระตุ้นการจ้างนักกายภาพ) ค่าพัฒนาระบบบริการ CBR ร่วมกองทุนตำบล องค์กรคนพิการ
7
กรอบการบริหารงบฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปี 2555 เขต 4
ปี 2555ได้รับจัดสรร (47.16 ลบ.) ค่าบริการ ฟื้นฟูฯ 18.14 ลบ. ค่าอุปกรณ์ เครื่องช่วยฟัง 8.48 ลบ. ค่าฝึกอบรม คนพิการตาบอด 11.2 ลบ. โครงการนำร่อง SNAP 4.0 ลบ. สนับสนุนการ จัดบริการ 5.32 ลบ. จัดบริการ ฟื้นฟูฯ ทั้ง 8 จังหวัด รพ.อยุธยา บูรณาการ ผ่าน สสจ. จัดตั้งกองทุน ฟื้นฟูฯ จังหวัด ~ 2.2 ลบ. จัดบริการฟื้นฟู และอุปกรณ์ ~ ลบ. หน่วยบริการ 70 % ~ 3.73 ลบ. จ่ายตามผลงาน อยู่ระหว่าง ปรับรูปแบบ องค์กรคนพิการ 30% ~ 1.59 ลบ. จ่ายตาม ผลงาน เหมาจ่าย ล่วงหน้า ชดเชยเพิ่มเติม เงื่อนไข - นโยบาย มีนักกายภาพ มีโครงสร้าง/ คกก. มีผลงานให้บริการ มีข้อมูลคนพิการ รายงานผ่านโปรแกรม Online ภายใน 30 วัน
8
โปรแกรมรายงานการให้บริการและอุปกรณ์
การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์ และการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม ผู้สูงอายุ SUB ACUTE คนพิการ การให้บริการฟื้นฟู 9 ด้าน การให้บริการกายอุปกรณ์ กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด พฤติกรรมบำบัด จิตบำบัด การฟื้นฟูการได้ยิน การฟื้นฟูการเห็น การประเมินและแก้ไขการพูด Early Intervention Phenol block อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการทั่วไป อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการราคาสูง 7 รายการ 2501 เครื่องช่วยฟังเด็ก 2502 เครื่องช่วยฟังผู้ใหญ่ 8801 รองเท้าคนพิการขนาดเล็ก 8802 รองเท้าคนพิการขนาดกลาง 8803 รองเท้าคนพิการขนาดใหญ่ 8804 รองเท้าคนพิการขนาดพิเศษ 8805 ค่าดัดแปลงรองเท้าคนพิการ โปรแกรมรายงานการให้บริการและอุปกรณ์ โปรแกรม E_Claim ภายใน 30 วัน
9
การทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว สำหรับคนพิการตาบอด
โครงการไม้เท้าขาว คือ อะไร ? OM=Orientation&Mobility: ?? การทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว สำหรับคนพิการตาบอด
10
ครูฝึกไม้เท้าขาว : O&M
O&M : Orientation & Mobility การทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว หลักสูตรประกาศนียบัตร (ประมาณ 1 เดือน) จากวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล คุณสมบัติ (หัวใจจิตอาสา อบรมฟรี) แห่งละ 4 คน มีคุณวุฒิปริญญาตรีทุกสาขา เป็นเจ้าหน้าที่(พยาบาล หรือ นักกายภาพ หรือ อื่นๆ) หรือลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว หรืออาสาสมัคร การอบรม 3 รุ่น รุ่น 5 วันที่ 16 มค.17 กพ.55 รุ่น 6 วันที่ 5 มีค.-5 เมย.55 รุ่น 7 วันที่ 23เมย.-25 พค.55 การเข้าร่วมโครงการ (อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง) หน่วยบริการสมัครและทำข้อตกลงดำเนินการ งบประมาณ จาก สปสช.เขต * ตั้งศูนย์ไม้เท้าขาว แห่งละ 100,000 บาท * ค่าอบรมคนตาบอด 9,000 บาทต่อราย(จ่ายตามผลงาน) * ค่าไม้เท้าขาวจ่ายตามการบันทึกลงโปรแกรมรายงานฯ
11
ผผ่าน Website NHSO ภายใน 30 วัน
ขั้นตอนการฝึกทักษะการใช้ไม้เท้าขาวสำหรับคนตาบอด รพ.สต./อสม. สำรวจ/ค้นหา คนพิการตาบอด สิทธิ ท.74 หรือ บัตรทอง แพทย์ หน่วยบริการ ตรวจประเมิน ตรวจประเมินการมองเห็นตามข้อกำหนด คนตาบอด สิทธิ ท.74 หรือ รับรองลงทะเบียนใหม่ อบรมทักษะการใช้ไม้เท้าขาวและจ่าย อุปกรณ์เครื่องช่วยคนตาบอด ฝึกใช้อุปกรณ์/จ่าย บันทึกข้อมูล ผผ่าน Website NHSO ภายใน 30 วัน ส่วนกลาง ให้หน่วยบริการที่บันทึกฯ รายไตรมาส โอนเงินค่าอบรม สปสช.เขต ตรวจสอบ โอนเงิน
12
จังหวัดที่เข้าร่วมโครงการไม้เท้าขาว
ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 251 232 จังหวัดนนทบุรี ศูนย์สิรินธรฯ 2 คน รพ.ชลประทาน 2 คน 3) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รพ.พระนครศรีอยุธยา 2 คน รพ.วังน้อย 2 คน ปี 55 รพ.ลาดบัวหลวง 1 คน ปี 55 7) จังหวัดปทุมธานี รพ. ปทุมธานี 142 2) จังหวัดลพบุรี รพ.ลำสนธิ 4 คน 4) จังหวัดสระบุรี รพ.พระพุทธบาท รพ.บ้านหมอ 1 คน รพ.หนองแซง 1 คน รพ.หนองโดน 1 คน 8) จังหวัดนครนายก รพ.นครนายก 224 155 71 5) จังหวัดสิงห์บุรี รพ.อินทร์บุรี 1 คน รพ.ค่ายบางระจัน 104 5) จังหวัดอ่างทอง รพ.อ่างทอง 2 คน 63
13
ชีวิตใหม่ของลุงยง
15
ผผ่าน Website NHSO E_Claim
ขั้นตอนดำเนินงานการให้บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง รพ.สต./อสม. สำรวจ/ค้นหา คนพิการทางการได้ยินสิทธิ ท.74 แพทย์เฉพาะทาง ตรวจประเมิน ตรวจประเมินการสูญเสียการได้ยิน และมีการได้ยินคงค้างอยู่ตามข้อกำหนด ผู้สูญเสียการได้ยิน สิทธิ ท.74 หรือ รับรองลงทะเบียนใหม่ จ่ายอุปกรณ์ เครื่องช่วยฟังชนิดทัดใบหู บันทึกข้อมูล ผผ่าน Website NHSO E_Claim ภายใน 30 วัน ส่วนกลาง ให้หน่วยบริการที่บันทึกฯ รายไตรมาส สปสช.เขต ตรวจสอบ โอนเงิน
16
หน่วยบริการ องค์กรคนพิการ จัดทำโครงการ สสจ. ที่ตั้ง สปสช.เขต โอนเงิน
แนวทางการสนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาระบบบริการ (บูรณาการ) หน่วยบริการ องค์กรคนพิการ จัดทำโครงการ รายละเอียดโครงการ ตามแบบมาตรฐานทั่วไป สสจ. ที่ตั้ง สสจ.ที่ตั้งหน่วยบริการและ องค์เครือข่ายคนพิการ พิจารณาและอนุมัติ สปสช.เขต แจ้งสรุปผลการพิจารณาอนุมัติ และจัดทำข้อตกลง โอนเงิน แบ่ง 2 งวด ส่งสรุปรายงาน ส่งรายงานรายโครงการ ภายใน 15 สค.55
17
แนวทางการจัดตั้งกองทุนและการบริหารจัดการ
ออกประกาศ สปสช. อบจ. จัดทำข้อตกลง แต่งตั้งคระกรรมการ ประชุมชี้แจง โอนเงิน ติดตาม กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ระดับจังหวัด แสดงความจำนง เปิดบัญชี ธกส. คัดเลือกคณะกรรมการ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร 16 คน จัดทำโครงสร้างการบริหารกองทุน งานการจัดการ และบัญชี งานชดเชยบริการและอุปกรณ์ งานส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา งานพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและสังคม หน่วยบริการ ท้องถิ่น/ชุมชน สมาคม/ชมรม/เครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
18
คณะกรรมการบริหาร [อยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี] หน้าที่คณะกรรมการ
1. บริหารจัดการกองทุนฯ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด 2. จัดทำแผนการพัฒนากองทุน โดยบูรณาการกับ ภาคีที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 3. ดำเนินการให้ผู้ที่จำเป็น ต้องฟื้นฟูฯเข้าถึงบริการ อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 4. รับผิดชอบการจ่ายเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการจัดทำบัญชี 5. จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน และรายงานการเงินของกองทุน ฟื้นฟูสมรรถภาพฯ 6. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนิน งานตามความจำเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้แทนองค์กรคนพิการ/พัฒนาสังคมจังหวัด 3 คน คณะ กรรมการบริการ 16 คน ผู้บริหาร/ จนท.อปท. 5 คน ผู้แทน หน่วยบริการ/ สาขาวิชาชีพ 5 คน ผู้บริหาร/จนท.สปสช.เขต สาขาจังหวัด 3 คน
19
ร่างกรอบการบริหารงบประมาณกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ จังหวัด……………
ร่างกรอบการบริหารงบประมาณกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ จังหวัด……………. ปี 2555 งบกองทุนรวม บาท - สปสช.สมทบ บาท - อบจ. สมทบ บาท 1. สำหรับบริหารจัดการ ร้อยละ ค่าตอบแทนคณะกรรมการ/อนุกรรมการ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ - จัดจ้าง จนท. ประจำกองทุน 1 คน 2. สำหรับตามจ่ายค่าบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ ร้อยละ 10 (กรณีคนพิการ ท.74 รับบริการนอกเขต) 3. สำหรับชดเชยค่าบริการและพัฒนาระบบบริการฯ ร้อยละ 50 - ค่าชดเชยบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ - ตามจ่ายค่าบริการและอุปกรณ์ข้ามเขต - พัฒนาศูนย์ผลิต ซ่อมกายอุปกรณ์ และเป็นศูนย์สาธิต-ศูนย์เรียนรู้ การใช้กายอุปกรณ์ - พัฒนาคลินิกและระบบคุณภาพการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ พัฒนาบุคลากรหน่วยบริการและเครือข่าย พัฒนาองค์กรเครือข่ายคนพิการ 4. งบการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการศึกษาพิเศษ ร้อยละ พัฒนาระบบศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศกองทุนฯ - สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูฯ ระดับอำเภอ – สนับสนุนโครงการแผนงาน/กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต - การวิจัยและประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯ - การประชาสัมพันธ์กองทุนฯ - กิจกรรมอื่นๆ ตามทีคณะกรรมการ เห็นชอบ
20
ปี 2554 ปี 2555 อบจ.พระนครศรีอยุธยา อบจ.สระบุรี อบจ.อ่างทอง
เป้าหมายการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ระดับจังหวัด เขต 4 สระบุรี ปี 2554 ปี 2555 อบจ.พระนครศรีอยุธยา อบจ.สระบุรี อบจ.อ่างทอง อบจ.นนทบุรี
21
การสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ผลงาน 12 เดือน (ตค
การสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ผลงาน 12 เดือน (ตค.53 – กย.54) จังหวัด คนพิการ จดทะเบียน ท.74 ปี 53 (คน) จำนวน บริการฟื้นฟู (ครั้ง) จำนวนเงิน (บาท) นนทบุรี 9,392 27,872 4,475,590 ปทุมธานี 7,297 7,938 1,205,820 พระนครศรีอยุธยา 7,260 10,306 1,722,000 อ่างทอง 3,045 14,347 2,749,950 ลพบุรี 6,413 11,327 2,033,020 สิงห์บุรี 2,717 3,202 824,550 สระบุรี 7,097 7,747 1,260,150 นครนายก 2,877 4,127 670,160 รวม 46,098 89,011 15,245,590
22
รายการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ จำแนกประเภทบริการ ปีงบประมาณ 2554 (ตค.53 – กย.54)
รายการบริการฟื้นฟูฯ จำนวนครั้ง จำนวนเงิน Early Intervention 1,010 151,500 Phenol block 29 14,500 กายภาพบำบัด 59,600 9,118,990 การประเมิน/แก้ไขการพูด 1,445 216,750 การฟื้นฟูการได้ยิน 1,441 216,100 การฟื้นฟูการเห็น 171 25,650 กิจกรรมบำบัด 18,777 2,810,050 จิตบำบัด 3,829 1,135,350 พฤติกรรมบำบัด 2,520 755,700 รวม 89,011 15,245,590 1 5 2 3 4
23
การสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง เขต 4 สระบุรี
ผลงาน 12 เดือน (ตค.53 – กย.54) จังหวัด คนพิการจดทะเบียน ท.74 ปี 53 (คน) จำนวนอุปกรณ์ (ชิ้น) จำนวนเงิน (บาท) นนทบุรี 9,392 111 282,294 ปทุมธานี 7,297 298 535,590 พระนครศรีอยุธยา 7,260 166 515,716 อ่างทอง 3,045 235 314,310 ลพบุรี 6,413 319 656,374 สิงห์บุรี 2,717 159 266,630 สระบุรี 7,097 561 572,785 นครนายก 2,877 93 815,301 รวม 46,098 1,942 3,958,964
24
ตัวชี้แห่งความสำเร็จ
KPI 1 ร้อยละของการได้รับบริการฟื้นฟูฯ เพิ่มขึ้นจากปี 2554 2 ร้อยละของการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการเพิ่มขึ้นจากปี 2554 3 อัตราการเข้าถึงเครื่องช่วยฟังของคนพิการทางการได้ยินเพิ่มขึ้นจากปี 2554 4 ร้อยละของคนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M เป้าหมายปี 2555 = 1,200 ราย 5 จำนวนกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ระดับจังหวัด
25
Sub-acute and non-acute patient
การบริการผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันและไม่เฉียบพลัน คือ การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่มีอาการพ้นภาวะวิกฤต หรือผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิกคงที่แต่ยังคงมีความผิดปกติ ของร่างกายบางส่วนอยู่และมีความจำเป็นต้องฟื้นฟุสมรรถภาพ ร่างกายอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตและอยู่ ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี
27
3) ข้อมูลบุคลากรและทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลทั่วไป เขตการปกครอง อำเภอ 16 อำเภอ ตำบล 209 ตำบล หมู่บ้าน 1,445 หมู่บ้าน 2) ข้อมูลการสาธารณสุข รพศ. 1 แห่ง รพท. 1 แห่ง รพช. 14 แห่ง รพ.สต แห่ง 3) ข้อมูลบุคลากรและทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู คน พยาบาลวิชาชีพ คน นักกายภาพบำบัดและเกี่ยวข้อง คน รถพยาบาลฉุกเฉิน คัน
28
เป้าหมาย การฟื้นคืนความสามารถของร่างกาย
2) ลดความสูญเสียความสามารถในการดำเนิน กิจกรรมในชีวิตประจำวันอันเนื่องมาจาก ความเจ็บป่วยหรือความพิการ 3) ลดความพิการหรือภาวะทุพพลภาพ
29
กรอบแนวคิดการดำเนินโครงการ
Input จัดตั้งคณะทำงานหรือทีมงาน อบรมพัฒนาทีมงาน สนับสนุนงบประมาณและออกแบบกลไกการชดเชย จัดทำโปรแกรมบริหารจัดการ Process บูรณาการงานประจำที่เกี่ยวข้องและเพิ่มเติม การคัดกรอง การลงทะเบียน การบันทึกข้อมูล การจัดบริการทั้งเชิงรับและเชิงรุก การรับ-ส่งต่อ การรายงานและประเมินผล การใช้ระบบ IT ที่พัฒนาขึ้น Output ผป.ได้รับบริการอย่างต่อเนื่อง ผป.ฟื้นคืนสภาพตามโปรแกรมฯ ลดความสูญเสีย พิการหรือทุพพลภาพ หน่วยบริการได้รับการพัฒนาการดูแลฯ เครือข่ายมีระบบการประสานงาน มีผู้เชี่ยวชาญให้ความช่วยเหลือผ่าน ระบบสารสนเทศ
30
ร่างโครงสร้างการบริหารโครงการ
ศูนย์โครงการ ที่ปรึกษาโครงการ หน่วยบริการ สปสช.เขตและจังหวัด เครือข่ายหน่วยบริการ หน่วยบริการ คณะทำงาน การลงทะเบียน การบริหารงบ การพัฒนาบุคลากร การรายงานและระบบสารสนเทศ การจัดบริการ การติดตามและประเมินผล
31
ทีมงานเวชศาสตร์ฟื้นฟูโครงการ
โรงพยาบาลเครือข่าย 1) แพทย์ที่เกี่ยวข้อง 1 คน 2) พยาบาลที่เกี่ยวข้อง 1 คน 3) นักกายภาพบำบัด 1 คน 4) ผู้รับผิดชอบงานการแพทย์ฉุกเฉิน 1 คน
32
แนวทางการให้บริการ SNAP
1) ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2) การคัดกรองผู้ป่วย 3) กระบวนการฟื้นฟู 4) กระบวนการจำหน่าย 5) กระบวนการการรับ-ส่งต่อผู้ป่วย 6) กระบวนการประเมินผลลัพธ์
33
ลักษณะงาน SNAP ที่แตกต่างจากบริการทั่วไป
ต้องใช้บุคลากรวิชาชีพหลายสาขา เช่น แพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักอรรถบำบัด นักกายอุปกรณ์ 2) ต้องในเวลาในการรักษาฟื้นฟูมากกว่าการรักษาระยะ เฉียบพลัน โดยต้องใช้เวลาในการดูแลทั้งสภาพ ร่างกายและจิตใจ 3) ต้องดูแลให้ผู้ป่วยหรือผู้พิการ สามารถกลับไปดำรง ตนในสังคมได้
34
แนวทางการดำเนินงาน 1) จัดตั้งศูนย์โครงการนำร่อง....รพ.พระนครศรีอยุธยา
2) จัดตั้งทีมงานรับผิดชอบโครงการ 3) จัดตั้งทีมงานเวชศาสตร์ฟื้นฟูโครงการ ระดับจังหวัด 1 ทีม ระดับเครือข่าย 16 ทีม 4) จัดทำโปรแกรมบริหารจัดการโครงการ 5) จัดการเครือข่ายบริการรับ-ส่งต่อผู้ป่วย 6) จัดตั้งทีมประเมินผลโครงการ รายงานและติดตามงาน
35
แนวทางการพัฒนาระบบบริการเครือข่ายโครงการ
พัฒนาบุคลากรทีมงาน พัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในหน่วยบริการ พัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน พัฒนาระบบการรับ-ส่งต่อ พัฒนาระบบสารสนเทศ พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผล
36
แนวคิดระบบสารสนเทศโครงการ
Service SNAP Refer SNAP การลงทะเบียน บันทึกข้อมูล ในโปรแกรม ผลการรักษา/ฟื้นฟู เครือข่าย 16 แห่ง ศูนย์โครงการ SNAP แสดงผลผิดปกติ Mapping SNAP การชดเชยบริการ Response ประมวล/วิเคราะห์ รายงานผลงาน
37
แนวทางการรับ-ส่งต่อ กรณีรับผู้ป่วย SNAP
รพ.เครือข่าย ที่รับผู้ป่วยบันทึกข้อมูลรับ กรณีส่งผู้ป่วย SNAP รพ.เครือข่ายที่ส่ง..ส่งเอกสารอย่างเดียว การจ่ายชดเชยค่าบริการรับ-ส่ง จ่ายแบบเหมาจ่ายตามข้อตกลง จ่ายแบบระยะทางไป-กลับ ไม่จ่าย
38
ติดต่อประสานงานเจ้าหน้าที่กลุ่มงาน
นายธวัช เหลี่ยมสมบัติ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ มือถือ 085 – 487 – 5032 E – mail : Website WWW:saraburi.nhso.go.th/rehab 2) นายยงยุทธ เอี่ยมฤทธิ์ ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน มือถือ 090 – 197 – 5178 E – mail : 3) นายประพจน์ บุญมี กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น มือถือ 084 – 439 – 0145 E – mail : website WWW : localfund.in.th
39
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.