ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBunkit Aromdee ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
2
เปรียบเทียบสถานการณ์โรคทางระบาดวิทยา
10 อันดับแรก เดือนกพ54(20 มค54-20กพ 54)กับ กพ 55(20 มค55-20 กพ 55) จังหวัดนครปฐม อัตราต่อปชกแสนคน
3
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก
4
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2555 (ข้อมูล ณ 21 กพ 55)
แหล่งที่มา: สืบค้น ณ 26กพ55
5
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2555 (ข้อมูล ณ 21 กพ 55)
แหล่งที่มา: สืบค้น ณ 26 กพ55
6
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 23 กพ 55)
จำนวน(ราย) - ค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ( ) = 1,363 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ไม่เกิน 164 ต่อประชากรแสนคน - เป้าหมายลดลงร้อยละ 20 จากค่าMedian = 1,090 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 131 ต่อประชากรแสนคน แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
7
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 23 กพ 55)
จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 23 กพ 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
8
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก
จำแนกตามรายเครือข่าย (ข้อมูล ณ 23 กพ 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
9
แนวโน้ม ของโรคไข้เลือดออก
แนวโน้ม ของโรคไข้เลือดออก
10
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 23 กพ 55)
จำนวน(ราย) - ค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ( ) = 1,363 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ไม่เกิน 164 ต่อประชากรแสนคน - เป้าหมายลดลงร้อยละ 20 จากค่าMedian = 1,090 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 131 ต่อประชากรแสนคน แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
11
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก
(ข้อมูล ณ 28 กพ 55) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
12
กลุ่มที่นำโดยอาหารและน้ำ
13
พบผู้ป่วยกลุ่มอาการ AFP 1 ราย
(เป้าหมาย 3 ราย) เป้าหมาย เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วย AFP ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
14
เป้าหมายการดำเนินงานใน 5 ปีแรก (2553-2558)
การกวาดล้างโปลิโอ ให้วัคซีนโปลิโอตามระบบปกติ อย่างน้อย 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกตำบล เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วย AFP ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด และเก็บอุจจาระส่งตรวจตามเกณฑ์ สอบสวนและควบคุมโรคผู้ป่วย AFP กลุ่มเสี่ยงสูงตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สอบสวนทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคในรายที่กำหนดภายใน 72 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กในพื้นที่เสี่ยงทั่วประเทศ ให้ได้ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตำบลที่ดำเนินการ 1 2 3 4
15
โรคที่กำลังมีการระบาดสูง
16
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคสุกใส
(ข้อมูล ณ 28 กพ 55) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
17
โรคที่กำลังมีการระบาด
18
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคมือ เท้า ปาก
(ข้อมูล ณ 28 กพ 55) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
19
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคหัด
(ข้อมูล ณ 28 กพ 55) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
20
สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง
พบการระบาดในโรงเรียน พบมากในเด็กอายุ 1-4 ปี พื้นที่เสี่ยง ได้แก่โรงเรียน ปี 2555 จำนวนผู้ป่วยอาจจะน้อยกว่าปีที่ผ่านมา แต่อาจพบความรุนแรงได้ เมื่อพบผู้ป่วยต้องเฝ้าระวัง ดูแลอย่างใกล้ชิด พื้นที่ที่ยังไม่ระบาดในปี 2555
21
สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง
อาหารเป็นพิษในศูนย์ฝึกอบรมใหญ่ ๆ โรงเรียน วัด งานเลี้ยงต่างๆ ที่ใช้อาหารเสี่ยง เช่น อาหารทะเลหรืออาหารที่ปรุงทิ้งไว้นานหลายชั่วโมง/ข้ามวัน รวมทั้งสารเคมีปนเปื้อน ต้องเฝ้าระวังในช่วงหน้าร้อนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม ต้องระวังการบริโภคงานเลี้ยงต่าง ๆ อาหารทะเล เชื้อที่พบบ่อย V. parahaemolyticus, Bacillus ceres, Salmonella spp. พื้นที่ต้องเตรียมทีม SRRT พร้อมออกดำเนินการทันที
22
ประเด็นการประเมินคุณลักษณะที่ ๒ ตามเกณฑ์การประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ ( ณ 20 กุมภาพันธ์ 2555)
25
ขอขอบคุณ Darunee Phosri
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.