ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
เชิงนวัตกรรม
2
นวัตกรรมกับการพัฒนา ประเภทของนวัตกรรม จำแนกได้ ดังนี้ 1.จำแนกตามลักษณะ
2.จำแนกตามผู้ใช้ประโยชน์
3
1.นวัตกรรมจำแนกตามลักษณะ
1.1.ประเภทสื่อการเรียนการสอน 1.2.ประเภทกิจกรรมพัฒนา
4
นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนการสอน เทคนิค / กิจกรรม กิจกรรมใหม่ ๆ สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุ/อุปกรณ์ ของจริง เทคนิค ตำรา การสอนแบบ โครงงาน วิธีการใหม่ ชุดทดลอง การ์ตูน ฯลฯ วีดีทัศน์ การสอนแบบ ค้นพบ แผนการสอน ภาพยนต์ การสอนแบบ แก้ปัญหา เอกสารการสอน ภาพนิ่ง มัลติมีเดีย ใบงาน การสอนแบบ สาธิต ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ
5
2.นวัตกรรมจำแนกตามผู้ใช้ประโยชน์
2.1.สื่อสำหรับครู 2.2.สื่อสำหรับนักเรียน
6
2.1. สื่อสำหรับครู แผนการสอน หนังสืออ้างอิง เครื่องมือวัดผล คู่มือครู
เอกสารประกอบการสอน หนังสืออ้างอิง เครื่องมือวัดผล ชุดการสอน อุปกรณ์โสตวัสดุ
7
2.2. สื่อสำหรับนักเรียน เอกสารประกอบการ เรียน ชุดฝึกปฎิบัติ ใบงาน
หนังสือเสริม ประสบการณ์ VIDEO E-leaning CAI บทเรียนสำเร็จรูป (Learn package /Module)
8
แนวทางการพัฒนานวัตกรรม
ขั้นพัฒนา ขั้นทดลอง ขั้นประเมินและรายงาน
9
การออกแบบนวัตกรรม ส่วนประกอบของ ชื่อนวัตกรรม เหตุผล นวัตกรรม
วัตถุประสงค์ ของการใช้นวัตกรรม ส่วนประกอบของ นวัตกรรม ลักษณะทางเทคนิค วิธีการใช้นวัตกรรม
10
การเรียนการสอน ศึกษาประเภท ศึกษาหลักสูตร ศึกษาการสร้าง สร้าง/ปรับปรุง
การออกแบบนวัตกรรม ศึกษาประเภท ศึกษาหลักสูตร ศึกษาการสร้าง สร้าง/ปรับปรุง การเรียนการสอน ทดลอง ประเมินผล
11
ขั้นตอนปฏิบัติ 1. วิเคราะห์ Analysis วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์เชิงระบบ
สภาพผู้เรียน Input การเรียนการสอน Process ปัจจัยสนับสนุน Output สภาพแวดล้อม Impact กำหนดปัญหา , กำหนดเป้าหมาย
12
การวิเคราะห์ระบบ ปัจจัย (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Product)
ผลกระทบ (Impact)
13
การวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดปัญหา
บ่งชี้และทำความเข้าใจปัญหา บ่งชี้ปัญหาจากการทำ Mind Mapping การบ่งชี้ปัญหาจากการทำแผนภูมิก้างปลา การระดมสมอง การวิเคราะห์ปัญหาจากการประเมินความต้องการจำเป็น
14
คาร์แมน (Carman B,2004) เสนอการวิเคราะห์
กำหนดกรอบแนวคิดของปัญหาให้ชัดเจน กำหนดปัญหาหลักที่เป็นปัญหาร่วมกัน วิเคราะห์ปัญหาโดยการระบุปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหา ปัจจัย 1 ปัญหา ปัจจัย 2
15
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาและการตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาและการตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม 1.พิจารณาระดับความต้องการของการมีส่วนร่วม 2. อธิบายปัญหา/ บรรยายปัญหา 3. ชี้แนะสาเหตุที่เป็นไปได้แรงจูงใจเงื่อนไข นิยามการมีส่วนรวม นิยามปัญหา 4. ระบุการแก้ไขปัญหาที่เป็นไปได้ 5. ระบุข้อดี/เสียของการแก้ไขปัญหาได้ 6.จัดลำดับการแก้ไขปัญหาที่น่าพอใจที่สุดถึงน้อย นิยามการแก้ปัญา
16
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาและการตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม (ต่อ)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาและการตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม (ต่อ) เลือกวิธี แก้ปัญหา แก้ปัญหา 7. เลือกและกำหนดรายละเอียดการแก้ปัญหา 8. เผยแพร่ดำเนินการแก้ปัญหาตามวิธีที่ต้องการ 9. ติดตามผลการแก้ปัญหา
17
การเลือกปัญหาเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน
เลือกปัญหาที่สำคัญเป็นปัญหาที่แท้จริง เลือกปัญหาที่เป็นประโยชน์แก่การเรียนการสอน เลือกปัญหาที่ไม่เกินศักยภาพของครูผู้วิจัย เลือกปัญหาที่ตรงกับประสบการณ์ ความสนใจ
18
ลักษณะของปัญหาที่ดี คำตอบที่ได้เกิด ประโยชน์ ทางปฏิบัติ แก่ครู
ผู้วิจัย ไม่เกินศักยภาพ ของครูผู้วิจัยทั้งด้าน ความรู้ ประสบการณ์ เวลา ภาระรับผิดชอบ ตรงกับประสบการณ์ ความสนใจความถนัดของ ครูผู้วิจัย
19
ปัญหาการเรียนรู้ของเด็ก
* ความรู้ทางทฤษฎี * ทักษะการปฏิบัติ * คุณธรรม * สังคม * ลักษณะทางกายภาพ
20
ปัญหาในชั้นเรียน วิธีสอน / ครู สภาพแวดล้อมในชั้นเรียน ผู้เรียน การปกครองชั้น
21
แหล่งที่มา การศึกษา เรียนรู้ การฝึกฝน การแลกเปลี่ยนความรู้
ประสบการณ์การสอน ความรู้เฉพาะตัว
22
2. การวางแผน Planning วางแผนการเรียนการสอน ในแผนการสอน
วางแผนสร้างนวัตกรรม ศึกษาหลักสูตร ออกแบบเครื่องมือวัด / สังเกต / สอบถาม วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล วางแผนวิเคราะห์ข้อมูล วางแผนการนำไปใช้งาน ทฤษฎี วิธีสอน การจัดกิจกรรม คิดริเริ่มเอง
23
4. สังเกต / วัด สิ่งที่ปฏิบัติ Evaluation
ปฏิบัติตามแผน สอดแทรกในกิจกรรม การเรียนการสอน สังเกต / วัด สิ่งที่ปฏิบัติ Evaluation รายงานผล Reporting รายงานผลในกลุ่มผู้ปฏิบัติ รายงานสาธารณชน / เขียนรายงาน 6. การนำไป ใช้งาน Implementation
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.