งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ แนวทางการประเมินและเครื่องมือ/กลไกการประเมินยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ แนวทางการประเมินและเครื่องมือ/กลไกการประเมินยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ แนวทางการประเมินและเครื่องมือ/กลไกการประเมินยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 6 กันยายน 2553 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น จัดโดย กระทรวงยุติธรรม

2 ขอบเขตการนำเสนอ ข้อคำนึงการจัดทำแผนกลยุทธ์
ข้อคำนึงการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การติดตามประเมินผล โดยใช้หลักการ ประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจ ของรัฐ

3 กระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์

4 แผนฯ เป็นเครื่องมือของ ผู้บริหารทุกระดับ
แผนฯ ช่วยชี้แนะแก้ผู้บริหารในกระบวนการตัดสินใจ เพื่อบริหารอย่าง  อย่างถูกทิศทาง  มีทางเลือกปฏิบัติที่เหมาะสม  สามารถเร่งรัดปรับเปลี่ยนการจัดการอย่างทันกาล การวางแผนฯ เป็นกระบวนการ “คิดก่อนทำ” แผนกลยุทธ์ชี้นำให้องค์กรอยู่รอดและแข่งขันได้ อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

5 แผนที่ดี การบริหารเชิงกลยุทธ์ : ความพร้อม 3 ด้าน พัฒนาบุคลากร องค์กร
(แผนกลยุทธ์) พัฒนาบุคลากร องค์กร บริหารแบบก้าวหน้า (การพัฒนาทรัพย์กรบุคลากร) (Balance scorecard M.) (ระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์) (พัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้) อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

6 FEEDBACK (การปรับองค์ประกอบหลักของแผนให้สอดรับกัน)
องค์ประกอบหลักการวางแผนกลยุทธ์ (ขั้นตอนการบริหารเชิงยุทธ์) (Strategic Management Steps) การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การดำเนินงาน ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก& การกำกับ และ ติดตาม การประเมิน FEEDBACK (การปรับองค์ประกอบหลักของแผนให้สอดรับกัน) Source;Strategic Management, A focus process: Samuel C. Certo; J. Pall Peter; 1988 อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

7 การวางแผนกลยุทธ์ต่างวัตถุประสงค์
(ขั้นการวางแผนฯเบื่องต้น ; Strategic Steps) การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก และ ติดตาม การประเมิน 2 1 3 4 5 1 2 3 4 5 1 3 2 4 5 แผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาเป็นคู่แข่งที่ดีที่สุด ดีที่สุด ขออยู่รอด แผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาให้อยู่ได้ดีที่สุดตามศักยภาพแวดล้อม ดี กว่าเดิม แผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาตามสภาวะแวดล้อมให้อยู่รอด อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

8 การวิเคราะห์ตัวแปร “เรา – เขา”
ตัวแปร : สิ่งมีอิทธิพลที่สำคัญต่อองค์กรให้เกิดความสำเร็จและหรือความล้มเหลว ตัวแปร : “เรา” ที่มีอยู่ของภาคีการพัฒนา หรือ องค์กร (องค์กรภายในผู้ใช้แผนหรือประชาคม ผู้ที่ต้องรับผิดชอบการพัฒนาโดยตรงของการพัฒนาระดับนั้น (แผนพัฒนาระดับนั้น) ภาครัฐ กระทรวง มหาวิทยาลัย กรมที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน วิสาหกิจ บริษัท มูลนิธิ มหาวิทยาลัย) โดยทั่วไป พิจารณาตัวแปร “เรา” ที่เป็นภาคีฯ หรือปัจจัย ตัวแปร : ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานการประกอบการ คน (หน่วย) เงิน ข่าว วัตถุดิบ ตัวแปร : ในการดำเนินการ ระบบบริหาร การผลิต ขาย วัฒนธรรม ตัวแปร : ที่เป็นผลผลิต คุณภาพสินค้า-บริการ ภาพลักษณ์ ฯลฯ ตัวแปร : “เขา” ของภาวะภายนอก (สิ่งที่องค์กรควบคุมมิได้) โดยทั่วไป พิจารณาตัวแปร “เขา” ทั้ง ตัวแปรที่เป็น (จะเป็น) สภาวะที่มีอิทธิพล ตลาด เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี ตัวแปรที่เป็น (จะเป็น) ลูกค้า ประชาชน ผู้ประกอบการ ตัวแปรที่เป็น (จะเป็น) คู่แข่ง ประชาคมต่างประเทศ ฯลฯ

9 เขา เรา กำกับไม่ได้ กำกับได้ ตัวแปร บทบาท และ สภาวะแวดล้อมที่เกิด
ที่มีบทบาทเป็น บวก ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม โอกาส เขา กำกับไม่ได้ ภาวะคุกคาม ที่มีบทบาทเป็น ลบ ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม จุดแข็ง ที่มีบทบาทเป็น บวก ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม เรา กำกับได้ ที่มีบทบาทเป็น ลบ ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม จุดอ่อน อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

10 ข้อผิดพลาดการวิเคราะห์
SWOT 1. เรา-เขา : บวก-ลบ สับสน 2. มองข้ามตัวแปรที่มีอิทธิพล 3. แปลบทบาทหลักของตัวแปรผิด 4. ขาดความครอบคลุม ลึกซึ้ง อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

11 ตรวจสอบผลการระดมสมอง
SWOT ตัวแปรที่มีอิทธิพล สำคัญและมีอิทธิผลมากพอให้เกิดผลสำเร็จ/ล้มเหลวจริงหรือไม่ บทบาทตัวแปร เป็นบทบาทที่สำคัญที่สุด จริงหรือไม่ (ควรมีที่สำคัญเพียง1หรือ2) กำหนดสภาวะถูกต้องหรือไม่ เป็นจุดแข็งหรือโอกาส เป็นจุดอ่อนหรือภาวะคุกคาม เป็นจุดอ่อน หรือ จุดแข็ง เป็นโอกาส หรือภาวะคุกคาม (เขา หรือเรา//บวก หรือลบ) จุดอ่อนขัดแย้งจุดแข็ง โอกาสขัดแย้งภาวะคุกคามหรือไม่ ภาวะใดเท็จจริงอะไรถูก สาระสมบูรณ์หรือไม่ (ตัวแปรและบทบาท) ขยายสถานการณ์เกิน เท็จจริง เพียงไร สาระยาวเกินไป วกวน เป็นการเล่าเรื่อง ขาดประเด็นหรือไม่ อะไรเป็นประเด็นหลัก สาระเท็จจริงเพียงไร กลุ่มย่อยได้หารือ และ เห็นพ้องร่วมกันจริงหรือไม่ มีสภาวะแวดล้อมครอบคลุม ลึก-ชัดพอ ยังมีประเด็นที่มีความสำคัญอื่นอีกหรือไม่ ทุกสภาวะแวดล้อมอยู่ในขอบข่าย ที่อยู่ในขอบข่ายของพันธกิจสมมุติแค่ไหน เพียงไร อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

12 ฯลฯ ข้อคำนึงถึงการยกร่างยุทธศาสตร์
“สาระชี้นำของยุทธศาสตร์ สื่อความหมายทางปฏิบัติ “ต้องทำอะไร อย่างมีบูรณาการ” ชัดเจนหรือไม่ รัดกุมเพียงไร” “ครอบคลุมการจัดลำดับความสำคัญของกลยุทธ์ และ การระบุความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์หลักของแผน การระบุความสัมพันธ์กับนโยบายหลักของรัฐหรือไม่?” ฯลฯ อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

13 ข้อคำนึงถึงการยกร่างยุทธศาสตร์
 แปลกใหม่-สำคัญ เพียงใด ?  ก่อเกิดผลกระทบที่ดีกว่าเดิมหรือไม่ ?  ปฏิบัติได้ (เทคนิค/จัดการ) หรือไม่ ?  สาระชี้นำสู่แนวทางปฏิบัติและแผนงาน/โครงการได้หรือไม่ ?  ก่อเกิดความคุ้มค่าด้านงบฯ/การเงินหรือไม่ ?  มีนวตกรรม/ที่เสริมสมรรถนะการแข่งขันเพียงใด ?  สนองความต้องการ นโยบาย/สาธารณะหรือไม่ ?  สนับสนุนการบริหารจัดการที่ดีเพียงไรหรือไม่ ? อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

14 Project Ideas เค้าโครงสร้าง ร่าง 1. ชื่อโครงการ
(ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ) 2. วัตถุประสงค์โครงการ (วัตถุประสงค์เชิงยุทธ์ Strategic Output) 3. ผู้รับผิดชอบ 4. กิจกรรม (ตามขั้นตอนการดำเนินงานหลัก) 5. เวลาการดำเนินงาน 6. ประมาณการงบประมาณ 7. เหตุผล (เชิงยุทธ์) อื่นๆ (ความสำคัญโครงการ ความคาดหวัง ฯลฯ) อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

15 ตารางการกำหนดโครงการเชิงยุทธ์ (เบื้องต้น) Project’s Idea
วัตถุประสงค์ โครงการ ดัชนีชี้วัด กลไกรับผิดชอบ ขั้นตอนงาน เป้าหมาย (สาระนำเสนอ;- นำเสนอ ชื่อโครงการเชิงยุทธ์ และสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องเช่นที่มาของโครงการ ตลอดจนลำดับความสำคัญของโครงการเชิงยุทธ์ (ระบุที่มาอาทิ ยุทธศาสตร์และแผนงานที่มาของโครงการ) (สาระนำเสนอ;- นำเสนอ วัตถุประสงค์หลัก-รองของโครงการเชิงยุทธ์ โดยปกติโครงการหนึ่งควรจะมีวัตถุประสงค์หลักเพียงหนึ่งโดยระบุ “ดัชนีผลผลิต”ของโครงการด้วย (นอกนั้นเป็นวัตถุประสงค์รอง)เพื่อผู้จัดการโครงการมีจุดหมายหลักการทำงานเป็นหนึ่งเท่านั้นไม่ไขว้เขวโครงการที่มีผลผลิตเป็นปริมาณได้ควรมีเป้าหมายกำกับด้วย ) (สาระนำเสนอ;- ระบุหน่วยงานเจ้าของโครงการซึ่งควรมีผู้รับผิดชอบหลักเพียงหนึ่ง (นอกนั้นเป็นหน่วยงานสนับสนุน หากโครงการมีคณะกรรมการกำกับการดำเนินงานด้วยควรระบุ) (สาระนำเสนอ;- ระบุขอบข่ายขั้นตอนการดำเนินงานหลักที่จะต้องทำ และที่ต้องประสานสัมพันธ์กับโครงการอื่นๆอย่างมีบูรณาการ อาทิ ขั้นการเตรียมการ ขั้นการกำหนดแนวทาง ขั้นการปฏิบัติงาน ขั้นการประสาน ขั้นการสรุปและการสิ้นสุดโครงการ ฯลฯ) อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

16 ตารางการกำหนดโครงการเชิงยุทธ์ (เบื้องต้น) ต่อ Project’s Idea
กำหนดเวลา งบประมาณ เหตุผล-ข้อสนับสนุน หมายเหตุ ระบุ ; เงื่อนไขที่สำคัญ (อทิเงื่อนไขต่อกระบวนการจัดการและการดำเนินงานหลักๆของโครงการที่องค์กรรับผิดชอบทุกฝ่ายต้องคำนึงถึงก่อน และระหว่าง และภายหลักการปฏิบัติการของโครงการ(หากมี)) ระบุ ; ความสมเหตุสมผล(ต่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเชิงยุทธ์และเชิงวิชาการที่สอดรับกับBSC)ที่สำคัญของโครงการด้านต่างๆ ตลอดจนโยงให้เห็นความเชื่อมโยงต่อวัตถุประสงค์หลักของแผนกลยุทธ์ ตลอดจนระบุความสัมพันธ์กับแผนงานโครงการอื่นๆ(หากมี) ระบุ ; ประมาณการงบประมาณ เบื่องต้น และระบุความคาดหมายแหล่งที่มาของงบฯ ระบุ ; กำหนดเวลาเริ่มงาน และ ประมาณการระยะเวลาที่ต้องการของโครงการ อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

17 การแปลงกลยุทธ์เป็นโครงการ
Review – ตรวจสอบโครงการที่กำหนด 1. โครงการรองรับยุทธศาสตร์ และประสานกับโครงการ อื่นในแผนงานสู่เป้าประสงค์ของแผนได้อย่างสัมฤทธิ์ผล ดัชนีทุกระดับครบและสอดรับกัน (มีที่มาที่ไป)หรือไม่ 2. โครงการมีเป้าหมายหลัก-รองชัดเจนไม่หลากหลายและ สับสน(เป็นแผนงาน) และ ไม่เล็กจำเพาะ(เป็นกิจกรรม) 3. โครงการมีขอบข่ายงานที่เหมาะสมกับสมรรถนะของ กลไกที่รับผิดชอบ 4. ข้อเสนอโดยรวมเป็นแผนงานโครงการเชิงยุทธ์ และ สำคัญควรผ่านการอนุมัติหรือไม่ อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

18 ข้อคำนึงการแปลงแผนไปสู่ การปฏิบัติ

19 ข้อคำนึงการแปลงแผนฯสู่การปฏิบัติ
กระบวนการวางแผน-ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมมากน้อยแค่ไหนโดยเฉพาะผู้ตัดสินใจทุกระดับ คุณภาพของแผน-องค์ประกอบของแผนชัดเจนและสอดคล้องระหว่างกันแค่ไหนเพียงใด เป้าประสงค์ชัดเจนหรือไม่ -ผู้ใช้แผนทุกระดับเข้าใจความหมายแค่ไหน -เป้าประสงค์สะท้อนความต้องการและค่านิยมร่วมหรือไม่เพียงไร -หลักการแนวคิดทันยุค/สภาพแวดล้อมเพียงไร การชี้นำของแผนฯมีความคล่องตัวเพียงไร มีรายละเอียดเกินความจำเป็นหรือไม่ บรรยากาศและการเตรียมการนำแผนไปใช้ -มีการประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสมเพียงไรตลอดกระบวนการวางแผนและการพัฒนา -ผู้ประสานงานแต่ละระดับเข้าใจและตระหนักภาระกิจของตนเพียงไร -กลไก-ระเบียบ-กฎ-ที่เกี่ยวข้องมีการปรับแค่ไหนเพียงไร ต้องมีการเสริมทักษะหรือไม่ การติดตามประเมินผล จริงจังแค่ไหนเพียงไร อิทธิพลทางการเมือง? อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

20 การติดตามประเมินผลโดยใช้ หลักการประเมินความคุ้มค่า การปฏิบัติภารกิจของรัฐ

21 ข้อเสนอแนะหลัก จากการประเมินผล บรรลุเจตนา-วัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่
การติดตามประเมินผล “หากพัฒนาแล้วไม่ได้ประเมินก็ตัดสินใจได้ว่าพัฒนาแล้ว หากไม่ได้ประเมิน ก็ไม่ได้พัฒนาต่อ อย่างถูกต้อง” การประเมินผลแผนฯ สาระหลักการประเมิน ข้อเสนอแนะหลัก จากการประเมินผล ทิศทางการพัฒนา (วัตถุประสงค์หลัก) แนวทางการพัฒนา (ยุทธศาสตร์หลัก) กลไกการพัฒนา (ระบบ/คน/วัฒนธรรมองค์กร) อื่นๆ (บริบทที่เปลี่ยนแปลง/ผลกระทบ) (ความพึงพอใจด้านต่างๆ) (กระแสดทางการเมือง) ฯลฯ บรรลุเจตนา-วัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่ หากบรรลุ เพราะปัจจัยบวกอะไร จะเสริมปัจจัยบวกอย่างไร หากไม่บรรลุ เพราะปัจจัยลบอะไร จะแก้ไขปัจจัยอย่างไร “การปรับองค์ประกอบชี้นำใดจะแก้ไขข้อมูล/ข้อเท็จจริงด้านใดจะต้องศึกษา-วิเคราะห์เพิ่มเติมอะไร จะปรับกระบวนการวางแผนอย่างไร” แนวทางการปรับปรุงยกร่างแผนฯ ใหม่ แนวคิด-เทคนิคที่เหมาะสม กระบวนการที่เหมาะสม ข้อแนะด้านสภาวะแวดล้อม (SWOT) แนวคิด/หลักการ ทิศทางพัฒนาที่เหมาะสม แนวปฏิบัติ ภารกิจหลักที่ต้องพิจารณาแก้ไข แนวปฏิบัติ ภารกิจหลักที่สมควรเพิ่ม แนวคิด-ความริเริ่ม (ที่ควรหารือสาธารณะ) อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (Soc.Eco.PolEnv.etc)

22 คุณสมบัติ ดัชนี การติดตามประเมินผล
สนองเจ้าของใคร ใครใช้ ใครกระทบ ทันสมัยได้รับการพิจารณาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ชี้วัดสถานะถูกต้อง ชัดตรง ไม่ยุ่งยากการจัดหาข้อมูล ตัวแปรมาคำนวณได้ ชี้วัดอย่างเป็นประโยชน์ ได้ผลช่วยประเมินความรับผิดชอบ ชี้วัดอย่างหวังประโยชน์แก่สาธารณะ ชี้วัดอย่างมีประสิทธิภาพสามารถ เสนอแนวทางการพัฒนา สาธารณะยอมรับและต้องการใช้เป็นสิ่งอ้างอิง อุทิศ ขาวเธียร “การวางแผนกลยุทธ์”

23 นิยาม การประเมินความคุ้มค่า
การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งที่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินได้

24 กรอบการประเมินความคุ้มค่า
ประสิทธิผล : บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประสิทธิภาพ : การสร้างผลผลิตหรือการให้บริการด้วยต้นทุนต่ำที่สุด ผลกระทบ : ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจตามที่คาดหมายและไม่คาดหมาย

25 ผลผลิต สิ่งของหรือบริการที่เป็นรูปธรรมหรือรับรู้ได้
จัดทำโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้บุคคลภายนอกได้ใช้ประโยชน์ ที่มา : สำนักงบประมาณ การปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณ หน้า 38

26 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553)
ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : พัฒนาระบบงานฯ กิจกรรมทางเลือกและเสริมสร้างความสมานฉันท์ เป้าหมาย : ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างสันติ วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน จำนวนประชาชนที่ร่วมเป็นเครือข่ายและอาสาสมัครด้านสันติวิธี (500 ราย) ร้อยละของประชาชนที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเสริมสร้างความสมานฉันท์ด้านสันติวัฒนธรรม (70%) กลยุทธ์ : เสริมสร้างสันติ วัฒนธรรมในสังคมไทย เป้าหมาย : มีกระบวนการสันติวิธีและการบริหารจัดการยุทธศาสตร์การเสริมสร้างสันติวัฒนธรรม จัดทำหลักสูตรการเสริมสร้างสันติวัฒนธรรม (3 หลักสูตร) นำกระบวนการสันติวิธีไปใช้ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้ง (1 พื้นที่) ผลผลิตที่ : โครงการเสริมสร้างสันติวัฒนธรรม

27 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553)
ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : พัฒนาระบบงานฯ กิจกรรมทางเลือกและเสริมสร้างความสมานฉันท์ เป้าหมาย : ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างสันติ วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายมีความสามัคคี/สมานฉันท์ (ความขัดแย้งด้านลัทธิอุดมการณ์/ความแตกต่างด้าน อัตลักษณ์ลดลง) กลยุทธ์ : เสริมสร้างสันติ วัฒนธรรมในสังคมไทย เป้าหมาย : มีกระบวนการสันติวิธีและการบริหารจัดการยุทธศาสตร์การเสริมสร้างสันติวัฒนธรรม ร้อยละของประชาชนที่นำสันติวิธีไปใช้ในพื้นที่มีความขัดแย้งต่อผู้ผ่านการอบรมทั้งหมด ระดับพึงพอใจของประชาชนเกี่ยวกับการใช้สันติวิธี จำนวนประชาชนที่ร่วมเป็นเครือข่ายและอาสาสมัครด้านสันติวิธี ผลผลิตที่ : โครงการเสริมสร้างสันติวัฒนธรรม ร้อยละของประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเสริมสร้างความสมานฉันท์ด้านสันติวิธี (70)

28 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553)
ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : ส่งเสริมและพัฒนาการอำนวยความยุติธรรม และการบริหารงานยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย : ประชาชนได้รับบริการงานยุติธรรมอย่างสะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม จำนวนประชาชนที่มารับบริการ ณ ศูนย์บริการร่วม ก.ยุติธรรม (50,000 ราย) จำนวนกฎหมายที่มีการยกร่างหรือผลงานวิจัยที่มีการพิมพ์เผยแพร่ไม่น้อยกว่า (25 เรื่อง) ความสำเร็จตามเป้าหมายของจำนวนนโยบาย และยุทธศาสตร์ (33 เรื่อง) กลยุทธ์ : พัฒนาระบบบริหารกระทรวง/ยุติธรรมจังหวัด/ส่งเสริมอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน/ปรับปรุงแก้ไข กม.ให้ทันสมัยเหมาะสม เป้าหมาย : ประชาชนผู้มารับบริการและหน่วยงานในสังกัดได้รับบริการงานด้านอำนวยการแลการบริหารจัดการอย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึงและถูกต้อง ความพึงพอใจของประชาชนที่มารับบริการ ณ ศูนย์บริการฯ และความพึงพอใจของหน่วยงานในสังกัด ก.ยุติธรรม (70%) ผลผลิตที่ : สนับสนุนการบริหารจัดการหน่วยงานสังกัด และให้บริการแก่ประชาชนในด้านงานยุติธรรม จำนวนนโยบายยุทธศาสตร์ และข้อเสนอ กธ. (15 เรื่อง)

29 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553)
ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : ส่งเสริมและพัฒนาการอำนวยความยุติธรรม และการบริหารงานยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย : ประชาชนได้รับบริการงานยุติธรรมอย่างสะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม ร้อยละของประชาชนได้รับบริการจากศูนย์บริการร่วม กธ.ใช้เวลา/ค่าใช้จ่ายลดลง กลยุทธ์ : พัฒนาระบบบริหารกระทรวง/ยุติธรรมจังหวัด/ส่งเสริมอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน/ปรับปรุงแก้ไข กม.ให้ทันสมัยเหมาะสม เป้าหมาย : ประชาชนผู้มารับบริการและหน่วยงานในสังกัดได้รับบริการงานด้านอำนวยการแลการบริหารจัดการอย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึงและถูกต้อง ระดับความพึงพอใจของประชาชนและเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดต่อบริการที่ถูกต้อง ผลผลิตที่ : สนับสนุนการบริหารจัดการหน่วยงานสังกัด และให้บริการแก่ประชาชนในด้านงานยุติธรรม ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการอย่างถูกต้องเป็นธรรม ณ ศูนย์บริการร่วมต่อประชาชนที่ได้รับบริการจากศูนย์ทั้งหมด

30 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553)
ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : ส่งเสริมและพัฒนาอำนวยความยุติธรรม เป้าหมาย : ประชาชนในพื้นที่ จ.ชายแดนภาคใต้เข้าถึงและได้รับความยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน จำนวนศูนย์ยุติธรรมชุมชนที่เป็นช่องทางในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ในชุมชน (88 แห่ง) ประชาชนที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมเสริมสร้างความยุติธรรมและความเข้มแข็งในการพัฒนา จ.ชายแดนภาคใต้ (5,000 ราย) ประชาชนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการสนับสนุนภารกิจของกระทรวงยุติธรรมในพื้นที่ จ.ชายแดนภาคใต้ (70%) กลยุทธ์ : เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรมแก่ประชาชนใน จ.ชายแดนภาคใต้ เป้าหมาย : สนับสนุนงานกระทรวงยุติธรรมในการเสริมสร้างความยุติธรรมในพื้นที่ จ.ชายแดนภาคใต้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของเรื่องราวร้องทุกข์ได้รับคำแนะนำ ปรึกษา ช่วยเหลือตามขั้นตอน (70%) ผลผลิตที่ : โครงการบูรณาการเสริมสร้างความยุติธรรม และความเข้มแข็งในการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจกับการเข้าร่วมกิจกรรม (70%)

31 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553)
ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : ส่งเสริมและพัฒนาอำนวยความยุติธรรม เป้าหมาย : ประชาชนในพื้นที่ จ.ชายแดนภาคใต้เข้าถึงและได้รับความยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายมีความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมของรัฐ (หาตัวชี้วัดความเชื่อมั่นที่ถูกต้องเหมาะสม) กลยุทธ์ : เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรมแก่ประชาชนใน จ.ชายแดนภาคใต้ เป้าหมาย : สนับสนุนงานกระทรวงยุติธรรมในการเสริมสร้างความยุติธรรมในพื้นที่ จ.ชายแดนภาคใต้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่ได้รับความช่วยเหลือจนได้รับความยุติธรรม ผลผลิตที่ : โครงการบูรณาการเสริมสร้างความยุติธรรม และความเข้มแข็งในการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ร้อยละของประชาชนที่มาร้องทุกข์ได้รับความช่วยเหลือจะได้รับความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม

32 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและตอบข้อซักถาม

33 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ แนวทางการประเมินและเครื่องมือ/กลไกการประเมินยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google