งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้านที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 โดย...นพ.สมชัย นิจพานิช รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2

3

4 โครงการสำคัญที่จังหวัดร่วมดำเนินการ
โครงการอาหารปลอดภัย โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ โครงการอาหารฮาลาลในโรงพยาบาล

5 การดำเนินการขับเคลื่อน
โครงการอาหารปลอดภัย การดำเนินการขับเคลื่อน 1) ระบบแผนบูรณาการ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ 2) ระบบตรวจสอบ ป้องกันด้านความปลอดภัย 3) ระบบควบคุม ส่งเสริมมาตรฐานสถานที่ผลิต/แหล่งกระจายอาหาร และหน่วยบริการอาหารของโรงพยาบาล 4)ระบบข้อมูล และการสื่อสาร รวมทั้ง education 5)ระบบการจัดการอุบัติการณ์ (incident management) 7 แหล่งอาหารเน้นเป็นพิเศษ 7 ประเภทอาหารเน้นเป็นพิเศษ ทุกจังหวัดดำเนินการส่งเสริม และตรวจสอบ แหล่งผลิต/ สถานที่ผลิต หน่วยบริการอาหาร และแหล่งกระจายอาหาร เพื่อรับรองมาตรฐานต้อง ผ่านเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ได้แก่ 1) โรงงานผลิต/แปรรูปอาหาร 2) ตลาดค้าส่ง 3) ตลาดสด 4) ตลาดนัด 5) ร้านอาหารแผงลอย ( CFGT และ เมนูชูสุขภาพ) 6) โรงพยาบาล (หน่วยบริการอาหาร) 7) ศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียน/สถานศึกษา (โรงอาหาร ขอให้ทุกจังหวัดสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย และดำเนินมาตรการทางกฎหมาย(ตามความเสี่ยงของพื้นที่) ได้แก่ 1) น้ำมันทอดซ้ำ และน้ำมันไม่มีฉลาก อย.ที่จำหน่ายในตลาดสด ตลาดนัด รถเร่โดยเจตนาใช้ปรุงอาหาร 2) สารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหาร 3) น้ำดื่ม / น้ำแข็ง 4) อาหารและสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 5) นมโรงเรียน 6) เส้นก๋วยเตี๋ยว 7) อื่นๆ ที่เป็นปัญหาน่าสนใจ เช่น อาหารปลอดภัย ใจเป็นสุข

6 จุดเด่นของผลิตภัณฑ์อาหารชุมชนหรือ OTOP
เอกลักษณ์ที่บ่งบอกว่าเป็นอาหารไทย มีความหลากหลาย ตามพื้นที่/ชุมชนที่ผลิตอาหาร ใช้ประโยชน์วัตถุดิบในท้องถิ่นให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ช่วยส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่

7 การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร
การยกระดับมาตรฐานของอาหาร ที่ผลิตเพื่อบริโภคในประเทศ ในทุกระดับ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ชุมชน หรือ OTOP จะเป็นแรงหนุน ให้ประเทศคู่ค้า เกิดความเชื่อมั่น ในอาหารส่งออก มากยิ่งขึ้น ครัวไทยสู่ครัวโลก INDUSTRIAL ยกระดับมาตรฐาน การผลิตในระดับอุตสาหกรรม GMP ยกระดับมาตรฐาน SME การผลิตในระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม GMP OTOP ยกระดับมาตรฐาน การผลิตในระดับครัวเรือนและชุมชน primary GMP

8 ในปี 2555 นี้ กระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
มีนโยบายสนับสนุนให้อาหารในกลุ่มดังกล่าวต้องปฏิบัติได้ตามหลักเกณฑ์วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย หรือ GMP Primary โดยต้องให้มีการจัดสถานที่ และกระบวนการผลิตให้สามารถลดการปนเปื้อนเบื้องต้น ป้องกันการปนเปื้อนข้าม และขจัดอันตราย ทั้งทางด้านกายภาพ เคมีและชีวภาพเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับอาหารที่ปลอดภัย

9 Roadmap การยกระดับมาตรฐาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
Primary GMP ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ธ.ค.-ม.ค.55 ก.พ. 55 ก.พ.-มี.ค.55 เม.ย.55 พ.ค.-มิ.ย.55 พิจารณาคัดเลือก สถานที่ผลิตอาหาร ที่ปฏิบัติได้ตาม หลักเกณฑ์ฯ 7 มิ.ย. 55 มอบเกียรติบัตร แก่ผู้ประกอบการ ที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ฯ ก่อนกฎหมายบังคับใช้ สำรวจ ความพร้อมผู้ประกอบการ โดยใช้หลักเกณฑ์ฯ จัดทำหลักเกณฑ์ และ(ร่าง)บันทึกการตรวจประเมิน(Checklist) สำรวจข้อมูลเพื่อกำหนดมาตรการรองรับการขอรับเลขสารบบอาหาร (ร่าง) ประกาศหลักเกณฑ์ที่ดี ในการผลิตอาหารสำหรับอาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย จัดทำคู่มือแนว ทางการตรวจ สถานที่ผลิตอาหาร สำหรับเจ้าหน้าที่ และผู้ประกอบการ

10 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ซื้อผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศเชื่อมั่นในคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหารไทย อาหารไทยมีภาพลักษณ์ที่ดี ซึ่งช่วยในการการส่งออกสินค้าอาหาร และส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย ยกระดับคุณภาพมาตรฐานของสินค้า อาหารไทยในระดับ SME และ OTOP ให้สามารถแข่งขันในตลาดการค้าเสรีได้

11 โปรดเตรียมตัวให้พร้อม
โครงการอาหารปลอดภัย primary GMP โปรดเตรียมตัวให้พร้อม

12

13 โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหาร และโภชนาการ
ประเมินโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ(ปรับใหม่) ของ รพศ./รพท./รพช./รพ.ของศูนย์อนามัยทุกแห่ง ทุกจังหวัด 1. การบริหารจัดการ แต่งตั้งคกก./ประกาศนโยบายและสื่อสาร/มีแผนปฏิบัติงาน 100 คะแนน 2. การดำเนินงานอาหารปลอดภัยในรพ. วัตถุดิบปลอดภัย/ข้อมูลเครือข่าย/ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 20 คะแนน 3. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ๓๐ ข้อ/ลดการปรุงอาหารหวาน มัน เค็ม/ ส่งเสริมการกินผักผลไม้/เมนูอาหารเฉพาะโรค/เมนูชูสุขภาพ/ ให้บริการอาหารฮาลาล 30 คะแนน 4.ร้านจำหน่ายอาหาร มีบันทึกตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร/ ได้รับป้าย CFGT/เมนูชูสุขภาพ/เมนูไร้พุง 5. จัดประชุมตามแนวทาง Healthy Meeting บันทึกการจัดเมนูอาหาร/รายงานการประชุม 10 คะแนน 6. คลินิกผู้ป่วยและการติดตามเยี่ยมบ้าน บันทึกการปฏิบัติงาน/ผลการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารผู้ป่วย/การจัดนิทรรศการ/การจัดอบรม

14 เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม 200 คะแนน ระดับดีเด่น ได้คะแนน 200 คะแนน
ระดับดีเด่น ได้คะแนน 200 คะแนน ระดับดี ได้คะแนน คะแนน ระดับพัฒนาได้ ได้คะแนน คะแนน

15 เป้าหมาย โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป ทุกโรงพยาบาล ในปี 2555
ผ่านการรับรอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ (คะแนน > 160 คะแนน )

16 โครงการอาหารฮาลาลในโรงพยาบาล
พัฒนาการให้บริการอาหารฮาลาลที่มีคุณภาพ ปลอดภัย เหมาะสมตามสภาวะโรค และความเชื่อโดยผ่านการรับรองจากคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด เป้าหมายเดิม 10 แห่ง รพ.ชุมชน ใน 5. จังหวัดภาคใต้ เป้าหมายเพิ่มเติม 19 แห่ง รพ.ศูนย์+รพ.ทั่วไป 7 แห่ง รพ.หาดใหญ่ รพ.นครพิงค์ รพ.แม่สอด รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ.วชิระภูเก็ต รพ.ระนอง รพ.กระบี่ รพ.ชุมชน 9 แห่ง รพ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช รพ.ยี่งอ จ.นราธิวาส รพ.ยะหริ่ง รพ.ปะนาเระ รพ.มายอ รพ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี รพ.สะเดา จ.สงขลา รพ.คลองท่อม จ.กระบี่ รพ.ตะโหมด จ.พัทลุง รพ. สังกัดกรมการแพทย์ 3 แห่ง รพ.ราชวิถี รพ.นพรัตน์ราชธานี สถาบันโรคทรวงอก

17 ขอบคุณครับ..


ดาวน์โหลด ppt รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google