ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAnna Wongsuwon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์ ลิขิตยิ่งวรา หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก ฯ
2
โครงสร้าง กรอบแผนเชิงรุก 1. Building Capacity ภาครัฐ 1.1 การบริหาร
1.2 งานบริการ 2.Building Capacity ภาคประชาชน 3.Vertical Program
3
1.1การบริหาร สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา ประเด็นการพัฒนา
1. Building Capacity ภาครัฐ 1.1การบริหาร สถานการณ์ ประเด็นการพัฒนา ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (1.1) การประสานงาน การจัดทำคำขอ งบประมาณของ จังหวัด งบ UC และ งบ Non UC เป็นต้น กับหน่วยงาน ราชการและองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 51 ปีแรกที่รัฐฯ มีนโยบายให้จังหวัด จัดทำคำขอตั้งงบฯ -กระทรวงฯ และสปสช. จัดสรร งบ P&P ลงจังหวัด เพิ่มขึ้น จึงต้อง จัดระบบ - การบริหารการเงิน -การจัดทำแผน งบประมาณให้มี ประสิทธิภาพ (1) บูรณาการเงิน และแผนระดับจังหวัด
4
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา
1. Building Capacity ภาครัฐ 1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา อุบัติเหตุ เป็นสาเหตุการ ตายอันดับต้น ๆ ระยะเวลาที่ใช้นำ ผู้ป่วยเข้ารับการ รักษา แปรผัน โดยตรงกับความ พิการแก่ร่างกาย หรืออันตรายต่อ ชีวิต (2.1) พัฒนาระบบ บริการทาง การแพทย์ที่ รวดเร็ว โดย ประสานกับ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ให้ผู้ป่วย สามารถเข้าถึง บริการก่อนได้รับ อันตรายร้ายแรง (EMS) (2) การป้องกัน อันตรายและ ความพิการจาก สถานการณ์ ฉุกเฉิน และภัย พิบัติหมู่ เป็นต้น
5
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (3) การ
1. Building Capacity ภาครัฐ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (3.1) ลดปัจจัย เสี่ยงและเพิ่ม มาตรการป้องกัน โรคที่เป็นปัญหา สาธารณสุขอันดับ แรก ๆ เช่น ไข้หวัด นก เอดส์ เบาหวาน ความดันโลหิต โรคหัวใจ มะเร็ง (ปากมดลูก/เต้า นม) วัณโรค ไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย สาเหตุการตายของ ประชากรไทย 1: โรคระบบไหล เวียนโลหิต (ร้อยละ 18.6 ของการตาย ทั้งหมด) 2: กลุ่มโรคมะเร็ง และเนื้องอก (ร้อยละ 16.2 ) 3: กลุ่มโรคติดเชื้อ (ร้อยละ 15.5) 4: การตายจาก สาเหตุภายนอก (วัยเด็กจนถึงหนุ่มสาว) (3) การ ส่งเสริม สุขภาพและ ป้องกันโรคที่ เป็นปัญหา สุขภาพ
6
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา (4) อาหาร ปลอดภัย - การป่วยและ
1. Building Capacity ภาครัฐ 1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (4.1) สร้างกลไก การตรวจสอบและ เฝ้าระวังความ ปลอดภัยของอาหาร (4.2)ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ผู้บริโภค/ ผู้ประกอบการ (4.3).สร้างภาคี เครือข่าย (4.4) สร้างความ เข้มแข็งในการ ดำเนินงาน ( 4.5) การตรวจคัด กรองหาเชื้อ * ความเสี่ยงจากการ บริโภคสารอันตราย ที่ปนเปื้อนในอาหาร * อัตราการเจ็บป่วย จากโรคติดเชื้อที่เกิด จากน้ำและอาหารที่ ไม่สะอาด พบปีละ ประมาณ 2 ล้านราย ปัญหารุนแรงก็คือ - การป่วยและ เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง - ทุพโภชนาการ ฯลฯ (4) อาหาร ปลอดภัย
7
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา (5.1,5.2) การ สถานการณ์
1. Building Capacity ภาครัฐ 1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (5.1,5.2) การ อบรม/การบูรณา การงาน *แก่วิทยากรหลัก *เครือข่ายแกนนำ สอ./อบต./ ชุมชน/อสม. (5.3,5.4) สนับสนุน กิจกรรมการบูรณา การงานสุขภาพจิต แก่อสม./ อบต. การฆ่าตัวตาย เป็น สาเหตุการตายอันดับ ที่ 8 ของไทย (48) -ภาคเหนือ /ภาค ตะวันออก/ภาคกลาง ยังคงมีอัตราสูง ปี 49 อัตราการฆ่า ตัวตายเป็น 5.7 ต่อแสนประชากร (5) ส่งเสริมและป้องกันโรคทางจิต
8
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา
1. Building Capacity ภาครัฐ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา องค์การอนามัยโลก คาดว่า โรคซึมเศร้า เป็นความสูญเสีย อันดับ 2 ของโลก ภายในปี 2563 อัตราความชุกของ โรคซึมเศร้า เป็น 4.38% ของ ประชากรไทย (ประมาณ 2.8 ล้านคน) (6.1) สร้างความ เข้าใจ การเข้าถึง แหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วน โทรศัพท์ (6.2) การพัฒนา ขีดความสามารถ เครือข่าย ทั้ง ภายในและภายนอก (6) การป้องกัน ดูแลช่วยเหลือ ผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ที่เสี่ยง ต่อการฆ่าตัวตาย
9
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา *มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย *การตั้งครรภ์ไม่
1. Building Capacity ภาครัฐ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา ปัญหา *อนามัยการเจริญพันธุ์ *มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร *เกิดโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ และ โรคเอดส์ ร้อยละ 29 *การตั้งครรภ์ไม่ ปรารถนา *วัยรุ่นอายุ ต่ำกว่า 20 ปี และร้อยละ 24.7 ของผู้ที่ทำแท้งมี สถานภาพเป็นนักเรียน (7.1) จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้ให้บริการและ ผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ พฤติกรรมสุขภาพ (7) การส่งเสริม สุขภาพ เฝ้าระวัง และป้องกันโรค ในวัยรุ่น (Youth Friend Health Services)
10
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา (8.3) เสริมสร้างศักยภาพ สถานการณ์
1. Building Capacity ภาครัฐ 1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (8.1) ประยุกต์การแพทย์ แผนไทยดูแลสุขภาพ (8.2) เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ผ่านสื่อสาธารณ และสื่อท้องถิ่น (8.3) เสริมสร้างศักยภาพ อาสาสมัคร”จิตอาสา” (8.4) สนับสนุน/ส่งเสริม กิจกรรมชมรม (8.5) วัดเป็นฐานแก่ ผู้สูงอายุ (8) การส่งเสริม สุขภาผู้สูงอายุ โครงสร้างประชากร ไทย (Population Pyramid) โตเคลื่อน ไปทางปลายยอด เพราะการคุมกำเนิด และการแพทย์มี ประสิทธิภาพ ผู้สูงอายุที่ต้องการ ดูแลจึงมีจำนวนมาก
11
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (คนไทย
1. Building Capacity ภาครัฐ 1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา ปัญหาสุขภาพคน ไทยวัยทำงานเกิดจาก พฤติกรรมสุขภาพไม่ เหมาะสม เช่น ไม่ ออกกำลังกาย กินอาหารจำพวกแป้ง ไขมัน ภาวะโภชนาการ เกิน อ้วน และเป็น สาเหตุโรคต่างๆเช่น หัวใจขาดเลือด โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคข้อ ต่างๆ มะเร็งต่างๆ เป็นต้น (9.1) ส่งเสริมการ ออกกำลังกาย (9.2) รณรงค์ ส่งเสริมการให้ความรู้ เรื่องโภชนาการและ การออกกำลังกาย (9.3) ให้สถาน ประกอบการจัด กิจกรรมหรือสถานที่ ให้เอื้อต่อการออก กำลังกาย (9) โรคอ้วน (คนไทย ไร้พุง)
12
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา
1. Building Capacity ภาครัฐ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (10.1) ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของอบต.ใน การพัฒนาโครงสร้าง/ สิ่งแวดล้อมศูนย์เด็ก เล็กให้ได้มาตรฐาน (10.2) ร่วมมือกับ อบต.ในการพัฒนา ความรู้ ความสามารถ และทัศนคติของ ผู้ดูแลเด็ก (10.3) ส่งเสริมบทบาท ของพ่อแม่ผู้ปกครอง/ ชุมชนช่วยเหลือสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก ข้อมูลการสำรวจสภาวะ สุขภาพคนไทยเกี่ยวกับ การเลี้ยงดูเด็กปี 2539 – 2540 พบว่า 37.3% ของเด็กปฐมวัย ได้รับ การเลี้ยงดูในสถานรับ เลี้ยงเด็กหรือศูนย์เด็ก เล็ก และพบว่าเด็กไทย อายุ 1ปี ในปี มี พัฒนาการค่อนข้างช้า 28.3% (เด็กอายุ4 ปีมี พัฒนาการช้า 37.0%) และ ใน ปี 2544 เป็น21.8% (เด็กอายุ4 ปีมีพัฒนาการช้า 37.14% (10) พัฒนา การในเด็ก ปฐมวัย
13
1.2 งานบริการ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา
1. Building Capacity ภาครัฐ ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา (11.1) สถานศึกษาเป็น แกนนำ/ศูนย์กลาง การสร้างสุขภาพควบคู่ กับการพัฒนาความ ร่วมมือระหว่างสถาน ศึกษากับผู้ปกครอง (11.2) เสริมสร้าง ความรู้ทักษะแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง / ชุมชน ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค/ รักษาพยาบาลและ อนามัยสิ่งแวดล้อม ปัญหาสุขภาพในเด็ก วัยเรียนที่พบค่อนข้าง สูง ได้แก่ ฟันผุ ภาวะ ทุพโภชนาการ ภาวะ โภชนาเกิน ทำให้เกิด โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคเก๊าท์ เป็นต้น (11) งานอนามัย สิ่งแวดล้อมใน สถานศึกษา
14
2.Building Capacity ภาคประชาชน
ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา ปัญหาการทำงานใน พื้นที่ * ทุกภาคส่วนใน ท้องถิ่นหรือพื้นที่ ทั้ง หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชา สังคม และกลุ่ม/องค์กร ทางสังคม ต่างทำงานตามบทบาท หน้าที่ของตน ที่ไม่มี ประสานงานซึ่งกัน และกัน (12.1) การพัฒนา แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) เป็นเครื่องมือในการ บริหารหลักประกัน สุขภาพในระดับตำบล (12) การเพิ่ม ความเข้มแข็ง ภาคประชาชน ระดับตำบล เสริมงาน สาธารณสุข
15
2.Building Capacity ภาคประชาชน
ประเด็นการพัฒนา สถานการณ์ ยุทธศาสตร์/แนวทางพัฒนา ปัญหาด้านอาหารและ น้ำ การจัดการของเสีย ในชุมชนไม่มีประสิทธิ ภาพ เพราะ มาตรการบังคับใช้ด้าน กฎหมายตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. ไม่มี ประสิทธิภาพ (ในปี50 มีเทศบาล มากกว่าร้อยละ 76 ใช้กลยุทธุ์เมืองน่าอยู่) (13.1) สร้างความเข้าใจ และเพิ่มพูนความรู้ผู้บริหาร และเจ้าพนักงาน สาธารณสุขของท้องถิ่น (13.2) สนับสนุน อปท.ใน การออกเทศบัญญัติ (13.3) พัฒนาศักยภาพ และสร้างการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชนในการ คุ้มครองสุขภาพตนเอง (13) การ ส่งเสริมสนับสนุน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ดำเนินการด้าน อนามัย สิ่งแวดล้อม
16
(20 โครงการค้นหาพาหะและป้องกันโรคฮีโมฟิเลีย
3. Vertical Program (มี 7 โครงการ) ประเด็นการพัฒนา (17) โครงการ ส่งเสริมสุขภาพ และเฝ้าระวังโรค วัยทำงาน (18) โครงการ ป้องกัน และเฝ้า ระวังโรคกลุ่ม ผู้สูงอายุ (14)โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (19) โครงการพัฒนาระบบการรักษาเร่งด่วนในโรคหลอดเลือดสมองตีบ (Stroke Fast Track) (20 โครงการค้นหาพาหะและป้องกันโรคฮีโมฟิเลีย (15)โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว (16)โครงการวัยเรียน วัยใส อนามัยดี
17
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.