ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Chapter 6 Project Management
การบริหารจัดการโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์
2
Topics Risk Management Resource Management Change Management
Project Closure
3
Risk Management Risk หมายถึง ความเสี่ยง ความเสี่ยงที่ว่านี้คือโอกาสที่ก่อให้เกิดความสูญเสียหรือล้มเหลว โดยที่ความเสี่ยงนี้อาจจะเกิดสาเหตุหลายประการเช่น ด้านบุคลากร ด้านเทคโนโลยี บริหารจัดการ ฯลฯ
4
Risk Management การบริหารจัดการความเสี่ยงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักดังนี้คือ การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) Risk Identification Risk Analysis Risk Prioritization การควบคุมความเสี่ยง (Risk Control) Risk Management Planning Risk Resolution Risk Monitoring
5
Risk Assessment การประเมินความเสี่ยงเปรียบเสมือนเป็นการค้นหาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ก่อนที่ปัญหานั้นจะลุกลาม และส่งผลให้โครงการนั้นล้มเหลวได้ โดยในกระบวนการในการประเมินความเสี่ยงจะเริ่มต้นด้วยการ กำหนดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น (Risk Identification) หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์ความเสี่ยงว่าจะส่งผลต่อระบบงานมากน้อยเพียงใด (Risk Analysis) กระบวนการสุดท้ายคือการจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง เพื่อจะได้ทราบถึงว่าความเสี่ยงใดควรจะต้องดำเนินการก่อน-หลัง (Risk Prioritization)
6
Risk Identification ในการกำหนดความเสี่ยงสามารถจัดทำ Check List เพื่อทำการตรวจสอบความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในโครงการดังนี้ Risk Type Possible Risk Requirements Mismatch Requirement Chang Lack of Customer involvement Excessive Requirement People Personal Shortfalls Skill mismatch/Lack of knowledge Success Model Clashes Technology Technology Change Tools -Inefficient CASE Tools Organizational -Organization restructure/Financial problems Estimation -Underestimated
7
Risk Analysis การวิเคราะห์ความเสี่ยง สามารถแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ส่วนดังนี้คือ Possibility โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Loss ความเสียหาย หากความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น ในลักษณะของ Possibility และ Loss ของแต่ละโครงการมีความแตกต่างกันไปตามโครงการ หากในฐานะผู้จัดการโครงการต้องทำการวิเคราะห์ประเด็นทั้ง 2 และนำมาวิเคราะห์ในรูปแบบของ Risk Exposure
8
Risk Analysis ยกตัวอย่างการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้วย Risk Exposure Risk
Probability [0-1] Loss [1-10] Risk Exposure 1 Personal Shortfalls 0.5 3 1.5 2 Technology Change 0.3 7 2.1 Requirement Change
9
Risk Analysis ตารางระดับดัชนีชี้วัด Probability และ Loss Probability
Rate Very Low 0.1 Low 0.3 Normal 0.5 High 0.7 Very High 1.0
10
Risk Analysis ตารางระดับดัชนีชี้วัด Probability Loss Rate Very Low 1
3 Normal 5 High 7 Very High 10
11
Risk Analysis Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10]
Personal Shortfalls 0.5 Normal 3 Low 1.5 2 Technology Change 0.3 7 High 2.1 Requirement Change Very High
12
Risk Prioritization Risk Exposure Risk Probability [0-1] Loss [1-10]
Priority 3 Requirement Change 1 Very High 7 High 2 Technology Change 0.3 Low 2.1 Personal Shortfalls 0.5 Normal 1.5
13
Risk Control การควบคุมความเสี่ยงนั้นเริ่มจากวางแผน Risk Management Planning และ หาทางแก้ไขปัญหา (Risk Resolution) รวมไปถึงการติดตามความเสี่ยง (Risk Monitoring) โดยการควบคุมความเสี่ยงนั้นถือเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งจะเป็นส่วนที่ทำให้แก้ไขติดตามได้ทันท่วงที โดยจะมีกระบวนการดังนี้
14
Risk Management การวางแผนบริหารจัดการความเสี่ยงนั้น มีเทคนิควิธีในการนำมาใช้วางแผนหลายวิธีด้วยกันคือ Buying Information Risk Avoidance Risk Transfer Risk Reproduction Risk Element Planning Risk Plan Integration
15
Risk Resolution การจัดการแก้ไขความเสี่ยงนั้น คือ การนำแผนงานที่ได้กำหนดไว้มาทำตาม ขั้นตอนโดยอาจจะมีการกำหนดขั้นตอนที่นำมาใช้ในการช่วยลดความเสี่ยงได้ เช่น อาจจะมีปัญหาเรื่องของบุคลากรขาดแคลน ก็อาจจะมีการจัดหาบุคลากรเพิ่มเติม หรือ บุคลากรไม่มีความรู้ความสามารถพอในการดำเนินการ ก็อาจจะมีการจัดโปรแกรมการอบรมให้กับบุคลากร หรือ ถ้ามีปัญหาเรื่องความต้องการของผู้ใช้ไม่ตรงกันกับผู้พัฒนา ก็อาจจะต้องสร้างต้นแบบของชิ้นงาน (Prototype) แสดงให้ผู้ใช้ทราบการทำงานเพื่อปรับความเข้าใจให้ตรงกัน เป็นต้น
16
Risk Monitoring หลังจากทำการจัดการแก้ปัญหาความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นแล้ว กระบวนการต่อไปคือ การตรวจสอบและติดตามความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นอีก หรือ อาจจะเกิดความเสี่ยงที่ไม่คาดคิดในขณะดำเนินการก็ได้ ซึ่งในการตรวจสอบและติดตามจะต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะได้สามารถหาวิธีการป้องกัน และ แนวทางแก้ไขได้ทันท่วงที
17
Resource Management ในส่วนของทรัพยากรในการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ต้องบริหารนั้นประกอบด้วย 3 ส่วนหลักดังนี้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร
18
Hardware & Software การบริหารจัดการด้าน ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ คือ การเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ตลอดระยะเวลาการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมไปถึงการจัดทำ Configuration ของฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ตลอดทั้ง Life Cycle
19
People การบริหารจัดการบุคลากรนั้นจะต้องเตรียมความพร้อมของบุคลากรในโครงการ โดยมีการจัดการด้านการกำหนดคุณสมบัติ หรือ Qualification ของผู้ที่จะเข้ามาทำงานในหน้าที่ต่างๆในโครงการทั้งด้านความรู้เรื่องเทคนิค หรือ รู้ในเรื่องระบบงาน นอกจากนั้นจะต้องจัดเตรียมผ่ายที่เกี่ยวข้องที่มีความสัมพันธ์ในเชิงการประสานงานการงาน กำหนดหน้าที่ให้แก่บุคลากรอย่างชัดเจน และจัดการบริหารให้การทำงานรวมกันทั้งภายในแต่ละทีมย่อยได้
20
Change Management ประเด็นของการเปลี่ยนแปลงที่ต้องให้ความสนใจ
Requirement Change Technology Change Organization Change Other Issuse
21
Project Closure การปิดโครงการนั้นเปรียบเสมือนการนำข้อบกพร่องในการทำงานที่ผ่านมาของโครงการ มาทำการวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งที่ควรนำมาวิเคราะห์เมื่อโครงการเสร็จสิ้นคือ Preparation Process Product Plan Paper Progress Project Management
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.