ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
ธัญภา จันทร์โท สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา โทร , ,
2
ตัวแปร ปริมาณ คุณภาพ สถิติพรรณนา statistic % Proportion - Rate
- Mean ,Mode ,Median - Range ,SD,CV Presentation -Table -Bar/ chart -Pie chart -Table Line chart -Bar/ chart
3
การกระจายของโรค ภัย ไข้เจ็บ
การกระจายของโรค ภัย ไข้เจ็บ บุคคล อายุ /วัย (หาอัตราป่วยเฉพาะกลุ่มอายุ) เพศ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ ภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ ยากจน/ ฐานะดี เกิดโรคต่างกัน
4
สถานที่ เปรียบเทียบในเขตเมือง/ ชนบท ภาค
จังหวัด / อำเภอ /ตำบล /หมู่บ้าน ฯลฯ
5
เวลา การเปลี่ยนแปลงระยะยาว นับเป็น 10 ปี มักเห็นชัดในโรคไร้เชื้อ ตีความหมายได้ 2 แบบ 1. การเปลี่ยนแปลงอาจเนื่องมาจากความก้าวหน้าในการวินิจฉัยโรค การค้นหาผู้ป่วยใหม่ได้ดีกว่าเดิม 2. การเปลี่ยนแปลงอาจแสดงเป็นดัชนีในการวัดสถานการณ์โรค การเปลี่ยนแปลงเป็นรอบ/ตามฤดูกาล (โรคติดเชื้อ) การเปลี่ยนแปลงระยะสั้น เป็นชั่วโมง /วัน (สารพิษ)
6
วิธีการนำเสนอข้อมูล วัตถุประสงค์ของการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้ข้อมูล/ เรื่องราวนั้นเข้าใจง่าย สื่อความหมายได้ถูกต้อง แบ่งการนำเสนอได้ 4 วิธี 1. การนำเสนอในรูปบทความ 2. การนำเสนอในรูปบทความกึ่งตาราง 3. การนำเสนอในรูปตาราง 4. การนำเสนอในรูปกราฟ
7
การนำเสนอในรูปบทความ
เป็นการบอกเล่าข้อมูลด้วยข้อความต่างๆ ที่ไม่ยาวเกินไป โดยมีตัวเลขปะปนกับข้อความ เหมาะกับข้อมูลที่มีรายการจำนวนน้อย พบทั่วไปในรายการวิทยุ โทรทัศน์ หน้าหนังสือพิมพ์ สรุปรายงาน เช่น ผลการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในตำบล ก. ปี ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวนทั้งหมด คน พบผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 85 คน ร้อยละ เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน คน ร้อยละ
8
การนำเสนอในรูปบทความกึ่งตาราง
เป็นการนำเสนอด้วยบทความและตารางประกอบกัน เพื่อสะดวกในการอ่านค่า เปรียบเทียบตัวเลขให้ชัดเจนเร็วขึ้น (ตารางที่ประกอบไม่ต้องทำเป็นรูปตาราง) เช่น ผลการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในตำบล ก. ปี ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวนทั้งสิ้น คน พบดังนี้ - ผู้มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน คน ร้อยละ - เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง คน ร้อยละ
9
3. การนำเสนอในรูปตาราง เป็นการนำข้อมูลมาจัดเป็นหมวดหมู่ แสดงไว้ในตาราง เพื่อให้ดูง่ายขึ้น ง่ายต่อการอ่านค่า และง่ายต่อการเปรียบเทียบ ตารางทางเดียว
10
ตาราง 2 ทาง (Two-way table)
11
ตารางซับซ้อน /หรือตาราง 3 ทางขึ้นไป
12
การเขียนชื่อตาราง/หัวข้อเรื่อง อ่านแล้วทราบว่าเป็นเรื่องอะไร ที่ไหน เมื่อไร (what where when)
การเขียนตัวเลขในตาราง เขียน 0 หมายถึงมีค่าเป็นศูนย์ - หมายถึงหาค่ามาไม่ได้/ ไม่มีข้อมูล / (NA : not available)
13
การนำเสนอด้วยกราฟ เป็นการนำเสนอด้วยภาพที่ทำให้ดึงดูดความสนใจ สวยงาม เห็นเรื่องราวที่นำเสนอได้มากและรวดเร็ว สามารถทราบความแตกต่างและแนวโน้ม เปรียบเทียบได้ชัดเจน แต่ไม่ทราบค่ารายละเอียดได้เหมือนตาราง
14
อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน
อัตราป่วยต่อแสน ด้วยโรคเบาหวาน ปี เขต 14จำแนกรายจังหวัด (แหล่งข้อมูล จาก สสจ. ในเขต) อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจาก ปี 2548 พบอัตราป่วยต่อแสน , ปี2551 เป็น เพิ่มขึ้น 1.5 เท่า หรือร้อยละ ภายในระยะเวลา 3 ปี อัตราป่วยต่อแสน ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ปี เขต 14 จำแนกรายจังหวัด โรคความดันโลหิตสูง ปี 2548 พบอัตราป่วยต่อแสน , ปี2551 เพิ่มเป็น เพิ่มขึ้น 1.6 เท่า หรือร้อยละ 60.7 ภายในระยะเวลา 3 ปี
15
ร้อยละของการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน ใน กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2549-2551
เกณฑ์ ไม่ต่ำกว่า65%
16
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2551 เขต 14 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง พบร้อยละ 18.14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน พบร้อยละ 14.91
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.