งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

GOOD WAREHOUSING & TERMINAL PRACTICES FOR HAZARDOUS SUBSTANCES

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "GOOD WAREHOUSING & TERMINAL PRACTICES FOR HAZARDOUS SUBSTANCES"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 GOOD WAREHOUSING & TERMINAL PRACTICES FOR HAZARDOUS SUBSTANCES
Thailand Logistics Fair 2006 By Soraj Chorchuvong

2 วัตถุอันตรายมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น และมีผลต่อการ
คำนำ วัตถุอันตรายมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น และมีผลต่อการ ผลิตการนำเข้า และการส่งออกอย่างที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้ ความไม่มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน ทำให้เกิดความ เหลื่อมล้ำการบังคับใช้กฎหมาย

3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ”วัตถุอันตราย”ตรวจสอบจาก พระราชบัญญัติ/พระราชกำหนด จำนวน 4 ฉบับ กฎกระทรวง จำนวน 3 ฉบับ ประกาศ จำนวน 83 ฉบับ ระเบียบ จำนวน 6 ฉบับ ข้อบังคับ 1 ฉบับ เหตุผลทางกฎหมาย จำนวน 34 ฉบับ

4 กฎหมายเกี่ยวข้องTerminal
พรบ.เดินเรือในน่านน้ำไทย การขนถ่ายสินค้าอันตราย IMO CLASSIFICATIONS UN NUMBER SERIAL NUMBER ศุลกากร

5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Warehouse
พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 ใบอนุญาตประกอบการโรงงาน รบ. 4 ประเภท 42(2) เก็บรักษา ลำเลียง สินค้าเคมีภัณฑ์อันตราย พรบ. วัตถุอันตราย 2535 กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมวิชาการเกษตร กรมประมง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมธุรกิจพลังงาน

6 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Warehouse
พรบ. วัตถุอันตราย (ต่อ) สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ใบอนุญาตของเสียอันตรายตามอนุสัญญาบาเซิล พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 พรบ. ผังเมือง พ.ศ. 2518 พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ 2522 พรบ. สรรพสามิต

7 ความไม่ชัดเจน เนื่องจากกฎหมายถึงจะมีเป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่มีความชัดเจน จึงทำให้ผู้ประกอบการไม่อาจที่จะดำเนินการให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของกฎหมายได้อย่างครบถ้วน แนวทางที่อาจจะช่วยให้ประกอบการได้อย่างใกล้เคียงกับหลักการ ก็ควรจะอิงกับข้อกำหนดของ หน่วยงานในต่างประเทศเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือวัตถุอันตราย เช่น CEFIC (European Chemical Industry Council) , NFPA, IMDG, SQAS (Safety and Quality Assessment System) และอื่นๆ

8 หลักเกณฑ์การประเมินความพร้อม
ระบบการจัดการ (Management) ความปลอดภัย สุขภาพและสิ่งแวดล้อม (SHE) ระบบคุณภาพ (Quality) เครื่องมือ (Equipment) การปฏิบัติงาน (Operation) การรักษาความปลอดภัย (Security) การตรวจสอบพื้นที่ (Site Inspection)

9 การลำดับขั้นการประเมิน
สิ่งที่จะต้องมีเบื้องต้น (Mandatory) สิ่งที่ต้องปฏิบัติ (Industry Norms) ส่งที่คาดหวัง (Desirable)

10 สิ่งที่จะต้องมีเบื้องต้น (Mandatory)
คุณสมบัติเบื้องต้นที่ขาดมิได้ การจัดการ (Management) นโยบายด้านความปลอดภัย การประชุม การฝึกอบรม การรายงานเรื่องความปลอดภัย การติดตามปรับปรุงแก้ไขด้านความปลอดภัย

11 สิ่งที่จะต้องมีเบื้องต้น (Mandatory)
คุณสมบัติเบื้องต้นที่ขาดมิได้ (ต่อ) การจ้างงาน ระเบียบวินัย นโยบายด้านสิ่งเสพติด นโยบายคุณภาพ ระบบการรักษาความปลอดภัย อื่นๆ

12 สิ่งที่ต้องปฏิบัติ (Industry Norms)
ได้แก่สิ่งที่ถือว่าเป็นมาตรฐานขั้นต้นที่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมนั้นต้องปฏิบัติ อาคารจะต้องได้มาตรฐานมีสาธารณูประโภคครบถ้วน ระบบการป้องกันอัคคีภัย คุณสมบัติของบุคลากร อุปกรณ์การป้องกันภัยส่วนบุคคล การฝึกอบรม อื่นๆ

13 ส่งที่คาดหวัง (Desirable)
เป็นสิ่งที่อาจทำเพิ่มเติมเพื่อสร้างพัฒนาหรือการแสดงความเห็นความตั้งใจในการประกอบการซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างไม่ข้อจำกัด เครื่องมือที่ช่วยให้การทำงานหรือการติดตามทำได้ดียิ่งขึ้น เช่น GPS , CCTV , เครื่องเป่าแอลกอฮอล์ การพัฒนาด้านบุคลากร เช่นการติดตามการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมการทำงาน การพัฒนาด้านความรู้และสวัสดิการ อื่นๆ

14 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
สถานที่ตั้ง ภูมิประเทศ ระยะห่างจาก ชุมชน บ้านเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล วัดควรจะมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 500 เมตร ประชากรในรัศมี เมตร โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด

15 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
สถานที่ตั้ง (ต่อ) สถานีดับเพลิงและอุปกรณ์การดับเพลิงที่ ใกล้ที่สุด สาธารณูประโภค เช่นขนาดท่อน้ำประปา ,โทรศัพท์ ภูมิอากาศ ฤดูกาล อุณหภูมิ แหล่งน้ำธรรมชาติ หรือแหล่งอาหารที่สำคัญ กฎหมาย ระเบียบ อื่นๆ

16 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
แบบอาคาร โครงสร้างหลังคากันไฟ ผนังกั้นกันไฟ ห้องเก็บรักษาวัตถุอันตรายตามขนาดมาตรฐานของ คณะกรรมการวัตถุอันตราย “อาคารที่มีความกว้างและความยาวค้านละตั้งแต่ 30 เมตรขึ้นไปต้องมีผนังที่ทำการวัสดุทนไฟกั้นตัดตอนโดยมีระยะห่างกันอย่างน้อยหนึ่งผนังทุกๆ สามสิบเมตรเพื่อป้องกันการลุกลามของอัคคีภัย” จุดฝักบัวชำระตัวและล้างสำหรับกรณีฉุกเฉิน

17 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
แบบอาคาร ระบบไฟฟ้ากันระเบิด (Class A Division A) กล้องวงจรปิด (CCTV) ระบบการตรวจจับ เช่น Smoke หรือ Heat Detector Fire Pump และระบบ Sprinkle บ่อหรือถังเก็บน้ำสำหรับดับเพลิง ถังดับเพลิงแบบผงเคมีแห้ง , อุปกรณ์ดับเพลิง และโฟมดับเพลิง คันกั้นสารเคมี รางและบ่อกักเก็บวัตถุอันตรายรั่วไหล

18 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
ระบบการสื่อสาร และแจ้งเหตุฉุกเฉิน การกำหนดการสื่อสารที่เป็นรูปแบบ การเชื่อมต่อการสื่อสารกับหน่วยงานด้านนอก วิธีการแจ้งเหตุฉุกเฉิน การฝึกอบรมการแจ้งเหตุฉุกเฉินเป็นประจำ

19 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
ความเข้าใจสินค้า แบบฟอร์มการขอใช้บริการ MSDS ระบบเอกสาร COA การตรวจสอบและทำความเข้าใจสินค้าที่ให้บริการ มาตรฐานการจัดเก็บ (SEGREGATIONS) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (SYSTEM PROCEDURES AND WORKING PROCEDURES)

20 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
ระบบการฝึกอบรม การฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องและเข้มงวด งบประมาณการฝึกอบรมต่อเนื่อง บุคลากร ความรู้ความเข้าใจด้านเคมี วินัยการทำงานดี ยอมรับระบบการทำงาน เอาใจใส่ต่อสิ่งผิดปรกติ ยอมรับการใช้ PPE

21 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
ระบบความปลอดภัย และการรักษาความปลอดภัย Safety procedures and sign boards Security procedures เครื่องมือยกขน เครื่องมือยกขนปลอดภัยสำหรับสินค้านั้นๆ การตรวจสอบเครื่องมือยกขน การดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือยกขน การประกันภัย ประกันภัยความเสียหายของสินค้า ประกันภัยชีวิตและทรัพย์สินบุคคลที่ 3

22 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
ระบบควบคุม Inventory ระบบและขั้นตอนการกำจัดของเสีย การเก็บกู้ของเสีย การจัดเก็บของเสีย การกำจัดของเสีย เครื่องมือตรวจวัดต่างๆ วัดอุณหภูมิและความชื้น ตรวจสอบกระแสลม

23 ข้อแนะนำการตรวจสอบเบื้องต้น
Certifications TPM, TQM SQAS, CEFIC ISO 9001, 14000, 18000 Others

24 “Good Practices for Hazardous Substances”
จิตสำนึก จิตสำนึกและความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ ก่อให้เกิด “Good Practices for Hazardous Substances”


ดาวน์โหลด ppt GOOD WAREHOUSING & TERMINAL PRACTICES FOR HAZARDOUS SUBSTANCES

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google