ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSnoh Yuvaves ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การแสดงข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
2
รหัสรูปแบบข้อมูล %cใช้กับข้อมูลประเภท ตัวอักขระ (character)
%dใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนเต็ม (integer) ฐานสิบเท่านั้น %eใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนทศนิยม (float) %f, %lfใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนทศนิยม (float) และ จำนวน Double ตามลำดับ %gใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนทศนิยม (float)
3
รหัสรูปแบบข้อมูล (ต่อ)
%hใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนเต็มแบบสั้น (short integer) %lใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนเต็ม (integer) ทุกฐาน %oใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนเต็ม (integer) ฐาน 8 %uใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนเต็มไม่มีเครื่องหมาย (unsigned integer) %xใช้กับข้อมูลประเภท จำนวนเต็ม (integer) ฐาน 16 %sใช้กับข้อมูลประเภท แถวอักษร (string)
4
ฟังก์ชันแสดงผลลัพธ์ ฟังก์ชัน putchar() ฟังก์ชัน puts()
ฟังก์ชัน printf() ฟังก์ชัน gotoxy()
5
ฟังก์ชัน printf() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานในภาษาซีใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นข้อมูลประเภทแถวอักขระออกทางจอภาพ โดยสามารถจัดรูปแบบได้ มีรูปแบบคือ printf (“format”,value); โดยที่ format หมายถึง รหัสรูปแบบข้อมูล (format code) หรืออักขระควบคุมเพื่อควบคุมการแสดงผล value หมายถึง ค่าคงที่ ตัวแปร หรือนิพจน์ที่ต้องการแสดงผล ถ้ามีมากกว่า 1 ตัวให้ใช้เครื่องหมาย , (comma) คั่นระหว่างแต่ละตัว
6
อักขระควบคุม \b ลบอักขระตัวสุดท้ายออก 1 ตัว (backspace)
\f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้า (from feed) \n ขึ้นบรรทัดใหม่ (new line) \r กำหนด cursor ให้ไปอยู่ต้นบรรทัด (carriage return) \t เว้นระยะช่องว่าง (horizontal tab) \0 ศูนย์ (null)
7
ตัวอย่างที่ 5.1 การใช้ฟังก์ชัน printf()
#include <stdio.h> int a1 = 100; main() { printf(“ค่าจำนวนคือ %d”,a1); getchar(); }
8
ผลที่ได้จากการ run ค่าจำนวนคือ 100
9
ตัวอย่างที่ 5.1 การใช้ฟังก์ชัน printf()
#include <stdio.h> int a1 = 100; int a2 = 50; int a3 = 20; main() { printf(“%d”,a1); printf(“%d \n”,a2); printf(“%d”,a3); getchar(); }
10
ผลที่ได้จากการ run 100 50 20
11
ฟังก์ชัน putchar() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานในภาษาซีใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นข้อมูลประเภทตัวอักขระออกทางจอภาพ โดยไม่มีการจัดรูปแบบ มีรูปแบบคือ putchar(‘character’); putchar(variable_name); โดยที่ character คือ ข้อมูลตัวอักขระ variable_name คือ ตัวแปรชนิดตัวอักขระ ตัวอย่างเช่น putchar(‘m’); a = ‘W’; putchar(a);
12
ฟังก์ชัน puts() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานในภาษาซีใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นข้อมูลประเภทแถวอักขระออกทางจอภาพ โดยไม่มีการจัดรูปแบบ มีรูปแบบคือ puts(“string”); puts(variable_name); โดยที่ character คือ ข้อมูลแถวอักขระ variable_name คือ ตัวแปรชนิดแถวอักขระ ตัวอย่างเช่น puts(“SAWASDEE”); เป็นการแสดงข้อความ SAWASDEE char s[] = “NEEHAO”; puts(s); เป็นการแสดงค่าในตัวแปร s ซึ่งมีค่าเป็นข้อความ NEEHAO
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.