ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
2
วัตถุประสงค์ สามารถบอกทฤษฎีของแนวสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้
วางแผนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้ เขียน advance organizers ได้ สร้างบทเรียนที่สอนโดยวิธีสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้เต็มรูปแบบทุกขั้นตอน ประเมินสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนจากการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้
3
Teaching Models Deductive Models Inductive Models
Procedure Skills Models Lecture&DiscussionModels
4
สังเขปเนื้อหา การเกริ่นนำ แนวคิดทางทฤษฎี
การวางแผนการสอนแบบบรรยาย-อภิปราย ขั้นตอนการสอน การประเมินผล
5
การเกริ่นนำ - การจัดลำดับโครงสร้างของบทเรียน
- การเขียน advance organizers
6
Advance Organizers ข้อเขียนที่ใช้เริ่มบทเรียนเพื่อ preview และวางขอบข่ายเนื้อหาที่จะเรียน ขณะเดียวกันก็ช่วยวางแนวให้ทราบว่า เนื้อหาใหม่เชื่อมโยงกับสิ่งที่เรียนแล้ว
7
การสอนแบบบรรยาย ( Advance Organizers )
วิธีการสอนแต่ละแบบจะเหมาะกับการสอนเนื้อหาหรือทักษะแต่ละอย่างแตกต่างกัน วิธีการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายนั้นเหมาะสำหรับการสอนเนื้อหาที่จัดระบบแล้ว(organized bodies of information) เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ concept, principles, laws, generalizationและความสัมพันธ์ของ conceptเหล่านั้น
8
การสอนแบบบรรยาย ( Advance Organizers )
วิธีการสอนแบบบรรยาย-อภิปรายได้รวมเอาข้อดีของการสอนแบบบรรยาย นั่นคือการนำเสนอความคิดอย่างกระจ่างชัด ประหยัดเวลา ประหยัดแรงงาน รวมเข้ากับการสอนแบบอภิปรายซึ่งเป็นวิธีการสอนที่เน้นการมีปฎิสัมพันธ์ของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนได้สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง
9
2. แนวคิดทฤษฎี Schema theory Meaningful verbal learning
Active learner involvement
10
Schema theory Schema คือข้อมูลที่ผู้เรียนสะสมไว้ในหน่วยความจำในสมอง ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายในการจัดการ การเชื่อมโยง ความคิด (ideas) ความสัมพันธ์ ( relationships)และ วิธีการ (procedures)
11
Meaningful Verbal Learning
เน้นการเรียนรู้แนวคิดที่เกิดจากการเชื่อมโยงข้อมูลใหม่กับแนวคิดอื่นๆ (ไม่เพียงแต่พยายามเชื่อมโยงแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่กับแนวคิดอื่นๆ แต่จะพยายามเชื่อมโยงกับแนวคิดเก่าที่มีอยู่แล้วในสมอง)
12
Active Learner Involvement
การร่วมอภิปรายอย่างกระตือรือร้น ทำให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดระดับสูง เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน ทำให้จำสิ่งที่เรียนได้แม่นยำขึ้น เพิ่มแรงจูงใจในการเรียน
13
Active Learner Involvement
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง มองเห็นผลที่ตามมา บอกผลลัพธ์ที่ตรงกันข้าม สรุปความรู้ด้วยตนเอง สามารถให้ตัวอย่างของเรื่องที่ศึกษาได้ จำความรู้และสามารถบอกได้แม้จะแฝงอยู่ในเรื่อง/บริบทอื่น มองเห็นความสัมพันธ์ของความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
14
การวางแผนการสอน ระบุเป้าหมายชัดเจน ตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียน วางโครงสร้างเนื้อหา เตรียม advance organizers
15
4. ขั้นการสอน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นการนำเสนอ
ขั้นการตรวจสอบความเข้าใจ ขั้นบูรณาการ ขั้นการทบทวนและสรุป
16
4.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
การมุ่งสู่จุดสนใจ - ให้ข้อมูลที่แตกต่าง - ทำให้เป็นเรื่องของผู้เรียนเอง - ให้ตัวอย่าง - สาธิตแสดง บอกวัตถุประสงค์ การเกริ่นนำ
17
2. ขั้นการนำเสนอ ใช้ advance organizers/ โครงสร้างเนื้อหาเป็น
จุดอ้างอิง สอนตามที่วางแผน เชื่อมโยงเรื่องที่เรียนกับเรื่องที่รู้แล้ว ถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
18
2. ขั้นการนำเสนอ ถามคำถามที่ท้ายทายความคิด
ความรู้ทั่วไป/ นิยาม/ วิธีการทำงาน/ ผลลัพธ์ เร้าให้คาดเดาสิ่งที่จะเกิดขึ้น ไม่ให้คำตอบทันทีและยอมรับฟังข้อเสนอของทุกคน ใช้คำถามที่จะนำเข้าสู่เรื่องที่จะสอน
19
2. ขั้นการนำเสนอ ช่วยเหลือผู้เรียนให้ติดตามการเรียนได้โดย
ทำเอกสารหัวข้อย่อยเพื่อให้ตามเรื่องได้ง่าย หัวข้อย่อยควรสรุปสาระสำคัญของเรื่อง เว้นช่องว่างให้ผู้เรียนเติมความ
20
2. ขั้นการนำเสนอ การกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมอภิปราย Think-pair-share Brain storming Buzz session Circular response
21
การตรวจสอบความเข้าใจ
ถามคำถามเป็นระยะ - วางแผนในการถามโดยถามอย่างน้อยหนึ่งคำถามใน หนึ่งวัตถุประสงค์การเรียน - ถามคำถามปลายเปิดเพื่อเร้าการอภิปราย/ความคิดขั้นสูง - ถามตรงประเด็น ให้ผู้เรียนสรุปเรื่องที่เรียนด้วยตนเอง
22
การบูรณาการ การเชื่อมโยงข้อมูลใหม่กับความรู้เดิม
เชื่อมโยงส่วนต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ ความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน
23
ขั้นทบทวนและสรุป สรุปหัวข้อสำคัญ บอกประเด็นหลัก บอกความเชื่อมโยง
24
ขั้นการประเมินผล วัดความเข้าใจของแต่ละหัวข้อที่สอน
วัดความเข้าใจความสัมพันธ์ ของแต่ละ หัวข้อที่สอน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.