งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน
ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลแผน/ผลการดำเนินงาน โครงการและงบประมาณให้มีความครบถ้วน และทันสมัย ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร กรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 10 ประเด็น การปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย (รอการกำหนดตัวชี้วัด) ตัวชี้วัดที่ 11

2 การพัฒนาองค์การกรมอนามัย
ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ประเด็นนำเสนอ ที่มาของการกำหนดแนวทางดำเนินการ ผลการประเมินจาก Survey Online แนวทางการดำเนินงานต่อไป การรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 23 มกราคม 2556

3 ที่มาของการกำหนดแนวทางดำเนินการ ปี 2556
1 ที่มาของการกำหนดแนวทางดำเนินการ ปี 2556 ปี 2555 สำนักงาน ก.พ.ร. ประเมินออนไลน์ กรมอนามัย ไม่กำหนดตัวชี้วัด เรื่องการพัฒนาองค์การ ระดับหน่วยงาน 1 2 คณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เกณฑ์การประเมินของสำนักงาน ก.พ.ร. ปี 2556

4 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
1 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย นโยบาย ให้มีการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยอย่างจริงจัง โดยใช้หลักเกณฑ์/ข้อกำหนด ตามมาตรฐานของ PMQA เป็นเครื่องมือ แนวทาง (11 พฤษภาคม 2555) ระบบงานตามหมวดต่าง ๆ ที่ดำเนินการมาแล้ว ให้หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่หลักในเรื่องนั้น ๆ เป็นเจ้าภาพหลักในการกำกับดูแลให้มีการดำเนินการต่อไป ได้แก่ การนำองค์กร และการสื่อสาร  กพร. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์  กองแผนงาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  สลก. การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้  กองแผนงาน การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล  กองการเจ้าหน้าที่ การจัดการกระบวนการ  สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองคลัง

5 การดำเนินงานของเจ้าภาพหมวด 1-6 การดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัด
แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนที่ 1 เจ้าภาพหมวดดำเนินการ ในส่วน ที่ต้องดำเนินการในภาพรวมของกรมอนามัย ส่วนที่ 1 ดำเนินการตัวชี้วัดที่ 7-11 มิติการพัฒนาองค์การ ร่วมกับกรมอนามัย ส่วนที่ 2 ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ส่วนที่ 2 การพัฒนาองค์กร ภายในหน่วยงาน

6 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) 1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจหลัก 1.1 นโยบายสำคัญและภารกิจหลัก ของกระทรวง (30) 1.2 ภารกิจหลักของกรมและ Joint KPI (27) 1.3 ASEAN Readiness (3) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ (10)  งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์อนามัยที่ 1-12  การรับรองมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 3. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (3) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.5) 5. งานตามเป้าหมายผลผลิต (2.5) 6. มาตรการประหยัดพลังงาน (3) 7. การปรับปรุงกระบวนงาน (4) การปราบปรามการทุจริต (กรม อ.กำหนดเป็นตัวชี้วัดหน่วยงานเพิ่มเติม) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 15) 8. การพัฒนาบุคลากร (5)  ลักษณะสำคัญขององค์การ  GAP การพัฒนาบุคลากร  แผนพัฒนาบุคลากร 9. การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ (3)  GAP ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน  ประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ 10. การปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ (3)  GAP วัฒนธรรมองค์การ  แผนปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ 11. การสร้างความโปร่งใส (4)

7 ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร
เกณฑ์การประเมินของสำนักงาน ก.พ.ร. 2556 ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร 8.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ 8.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร 8.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การภายใน 31 ม.ค.56 และรายงานมีความครบถ้วน ทันสมัย ประเมินโดยใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรในการพัฒนาบุคลากรผ่านระบบออนไลน์ จำนวน 10 ข้อคำถาม ครั้งที่ 1 (17 ธ.ค.55 – 4 ม.ค.56) ครั้งที่ 2 (16-30 ก.ย. 56) จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี 2556 โดย ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้า และผลการสำรวจ

8 ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ
เกณฑ์การประเมินของสำนักงาน ก.พ.ร. 2556 ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ 9.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความ พึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ 9.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ ประเมินโดยใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศผ่านระบบออนไลน์ จำนวน 6 ข้อคำถาม ครั้งที่ 1 (17 ธ.ค.55 – 4 ม.ค.56) ครั้งที่ 2 (16-30 ก.ย. 56) - การประเมินจากข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ โดยใช้การตรวจประเมินจากหลักฐาน ณ กรมอนามัย

9 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ
เกณฑ์การประเมินของสำนักงาน ก.พ.ร. 2556 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ 10.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ 10.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ จัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประจำปี 2556 โดย ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้า และผลการสำรวจ ประเมินโดยใช้แบบสำรวจบรรยากาศภายในองค์การ ผ่านระบบออนไลน์ จำนวน 14 ข้อคำถาม ครั้งที่ 1 (17 ธ.ค.55 – 4 ม.ค.56) ครั้งที่ 2 (16-30 ก.ย. 56)

10 เกณฑ์การให้คะแนน : Survey Online (ตัวชี้วัด 8.2 9.1 10.1)
เกณฑ์ระดับกรม เกณฑ์การให้คะแนน : Survey Online (ตัวชี้วัด ) พิจารณาจากส่วนต่าง (GAP) ระหว่างความคิดเห็นและการให้ความสำคัญต่อปัจจัยต่างๆ ของบุคลากรภายในองค์การ จากผลการสำรวจครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 โดยเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยกลาง ดังนี้ เกณฑ์ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 GAP ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ ค่าเฉลี่ยกลาง GAP ครั้งที่ 1 มากกว่า ค่าเฉลี่ยกลาง

11 GAP ครั้งที่ 1 ≤ ค่าเฉลี่ยกลาง GAP ครั้งที่ 1 > ค่าเฉลี่ยกลาง
เกณฑ์ระดับกรม เกณฑ์การให้คะแนน : ตัวชี้วัด GAP ครั้งที่ 1 ≤ ค่าเฉลี่ยกลาง GAP ครั้งที่ 1 > ค่าเฉลี่ยกลาง ระดับ คะแนน กรณีที่ 1 สูตรการคำนวณ กรณีที่ 2 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5 X2 ≤ X1 X2 ≤ ค่าเฉลี่ยกลาง ( X2 - X1 ) 3 - {2 x[ ]} (Xmax - X1 ) 5 - {4 x[ ]} ( X2 - X1 ) (Xmax - X1 ) ( X1 - X2 ) 3 + {2 x[ ]} (X1-ค่าเฉลี่ยกลาง โดยที่ : X1 คือ GAP จากการประเมินครั้งที่ 1 (17 ธ.ค. 55 – 4 ม.ค.56 ) X2 คือ GAP จากการประเมินครั้งที่ 2 (16-30 ก.ย.56)

12 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5
เกณฑ์การประเมินของสำนักงาน ก.พ.ร. 2556 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการ สร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ดำเนินการได้ตามแผนงานที่วางไว้ และมีการรายงานผลความก้าวหน้าครบถ้วนตามที่กำหนด (ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และเอกสารส่งสำนักงาน ก.พ.ร.) 2 คะแนนเฉลี่ยความสำเร็จถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามตัวชี้วัดเมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย 3 4 5

13 ความเป็นมา คะแนน ข้อ 1.3 ป้องกันและปราบปราบการทุจริต
เป้าหมาย10 คะแนน ความเป็นมา 5 10 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย = คะแนน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น รัฐบาลได้ให้ความสำคัญและประกาศนโยบายเร่งด่วนที่ต้องเร่งดำเนินการ ข้อ 1.3 ป้องกันและปราบปราบการทุจริต ประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง ให้ส่วนราชการ 159 หน่วยงาน 76 จังหวัด จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ 13

14 กระบวนงานศึกษาวิจัย ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย กระบวนงานศึกษาวิจัย ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กพร. ได้แจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงานทราบและร่วมดำเนินการแล้ว ตามหนังสือเลขที่ สธ 0926/ว5301 ลงวันที่ 10 สิงหาคม 2555 และที่ สธ 0926/ ว6774 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2555 14

15 ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส
ในการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย กระบวนงานศึกษาวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปัญหาหลักของ กระบวนการ ศึกษาวิจัยฯ ด้านเงิน ด้าน คุณภาพ ใช้งบประมาณ ผิดประเภท/ ผิดระเบียบ จัดจ้างในราคา สูงเกินจริง ไม่ดำเนินการ จริง แต่มีการ เบิกจ่าย ไม่มีการ เผยแพร่ ผลงานวิจัย ไม่มีการ นำไปใช้ ประโยชน์ จ้างเก็บข้อมูล จ้างวิเคราะห์ สร้างเอกสารเท็จ 15

16 ทุกหน่วยงาน : ร่วมดำเนินการและรายงานผลโครงการศึกษาวิจัยของหน่วยงาน
เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บังคับใช้กฎหมาย ลงโทษผู้กระทำความผิด กองคลัง กตส. กฎหมาย กฎระเบียบ กอง จ. สร้างระบบตรวจสอบ ควบคุมกำกับการเบิกจ่ายงบประมาณฯ สร้างระบบกำกับ ติดตาม ประเมินผลกระบวนการวิจัย และการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ กำหนดเกณฑ์ในการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยที่ชัดเจน กตส. พัฒนา เครื่องมือ กพว.กรม แนวทางการดำเนินงาน กพว.กรม เสริมพลัง ประชาชน/ ผู้รับบริการ เปิดโอกาสให้ผู้วิจัยมีช่องทางเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ ส่งเสริมนโยบายป้องกันทุจริตคอร์รัปชั่นของกรมอย่างจริงจัง สลก. กพร. สลก. ทุกหน่วยงาน : ร่วมดำเนินการและรายงานผลโครงการศึกษาวิจัยของหน่วยงาน

17 การประเมินผลจาก Survey Online
1 การประเมินผลจาก Survey Online ผลการสำรวจครั้งที่ 1 (17ธ.ค.55 – 4 ม.ค.56) เป้าหมาย จำนวนตัวอย่างที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด ไม่น้อยกว่า 331 คน ผลการสำรวจของกรมอนามัย มีผู้ตอบแบบสำรวจ 541 คน ร้อยละ 163 ของเป้าหมาย และร้อยละ 28.4 ของข้าราชการกรมอนามัย (1,905 คน) ผู้ตอบแบบสำรวจ ปี ครั้งที่ 1 = 752 คน ครั้งที่ 2 = 718 คน

18 ผู้ตอบแบบสำรวจ 541 คน ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลส่วนบุคคล จำนวน
 ข้อมูลส่วนบุคคล  จำนวน ร้อยละ   เพศ   ชาย  66 12.20  หญิง  475  87.80  อายุ    ปี  43   7.95   ปี  150  27.73   ปี  140  25.88  51 ปีขึ้นไป  208  38.45 ตำแหน่ง   ทั่วไประดับปฏิบัติงาน 24   4.44  ทั่วไประดับชำนาญงาน  79  14.60  ทั่วไประดับอาวุโส    0.00  วิชาการระดับปฏิบัติการ  72 13.31  วิชาการระดับชำนาญการ  267  49.35  วิชาการระดับชำนาญการพิเศษ  73  13.49  วิชาการระดับเชี่ยวชาญ  14  2.59  วิชาการระดับทรงคุณวุฒิ  1   0.18  อำนวยการระดับต้น  4  0.74 อำนวยการระดับสูง 3 0.55  บริหารระดับต้น  0.55  บริหารระดับสูง   0.18  สถานที่ปฏิบัติงาน   ส่วนกลาง  170  31.42  ส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค  371  68.58

19 ค่าเฉลี่ยกลาง 1.7 1.4 1.2 Xmax 4.8 4.2 3.6 กรมอนามัย 2.0 1.6
เปรียบเทียบค่าGAP ของกรมอนามัยกับค่าเฉลี่ยของทุกส่วนราชการ KPI 8.2 KPI 9.1 KPI 10.1 การพัฒนาบุคลากร ความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ค่าเฉลี่ยกลาง 1.7 1.4 1.2 Xmax 4.8 4.2 3.6 กรมอนามัย 2.0 1.6 ค่าเฉลี่ยกลาง คือ ค่าเฉลี่ยของผลสำรวจส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (GAP) ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ ของทุกส่วนราชการ Xmax คือ ค่าสูงสุดของค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (Gap) ครั้งที่ 1 ของทุกส่วนราชการ

20 ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP)
ความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร – Human Capital Survey ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.7 คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP HRM 1. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีนโยบายและเป้าหมายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่ชัดเจน และมีการสื่อสารให้บุคลากรทราบ 6.2 8.3 2.1 2. การมอบหมายงานให้แก่บุคลากรในส่วนราชการของข้าพเจ้ามีความชัดเจน และเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ 6.5 8.4 1.9 3. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าการเลื่อนระดับและการโยกย้ายบุคลากรตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความรู้ ความสามารถ และผลงาน 5.9 2.5 4. ข้าพเจ้ามีความพึงพอใจต่อความก้าวหน้าในสายงานของตนเอง 6.4 2.0 5. ส่วนราชการมีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง 5.4 8.2 2.8 เฉลี่ย HRM 2.3 กลุ่มอำนวยการ กลุ่มวิชาการ กลุ่มวิชาการ

21 ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP)
ความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร – Human Capital Survey ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.7 คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP HRD 6. ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาให้ข้าพเจ้าปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การสอนงาน (Coaching) เป็นต้น 6.5 8.4 1.9 7. แผนพัฒนาบุคลากรมีความสอดคล้องกับทิศทาง และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 6.4 8.2 1.8 8. ข้าพเจ้าได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากความต้องการและผลการประเมินการปฏิบัติราชการ 8.3 9. การพัฒนาความรู้ ทักษะที่ข้าพเจ้าได้รับช่วยให้ข้าพเจ้ามีความชำนาญ และสามารถปฏิบัติงานได้ดีขึ้น 7.3 8.5 1.2 10. บุคลากรในส่วนราชการของข้าพเจ้ามีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสมเพียงพอที่จะทำให้การปฏิบัติงานบรรลุภารกิจขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ 6.8 1.7 เฉลี่ย HRD GAP เฉลี่ย Human Capital Survey =2.0

22 ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP)
ความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ – Information Capital Survey ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.4 คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ-System 11. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของส่วนราชการมีความพร้อมใช้งาน ช่วยให้ข้าพเจ้าปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง 6.6 8.5 1.9 12. ส่วนราชการของข้าพเจ้าสามารถจัดการแก้ไขปัญหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม (เช่น ไฟดับ ไวรัส เป็นต้น) 8.4 1.8 ข้อมูลและสารสนเทศ-Database 13. ข้อมูลและสารสนเทศ ของส่วนราชการของข้าพเจ้าได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าพเจ้า 8.3 1.7 14. ฐานข้อมูล ของส่วนราชการ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก เข้าถึงได้ง่าย ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้รวดเร็ว 6.3 2.0 15. ฐานข้อมูลของส่วนราชการสามารถสนับสนุนการสื่อสารองค์ความรู้ (KM) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องของวิธีการปฏิบัติที่ดี (Best/Good Practices) 6.4 8.2 ผู้บริหาร /ว.ปฏิบัติการ ผู้บริหาร /ว.ปฏิบัติการ กลุ่มวิชาการ ว. ชพ. /ว.ผู้ทรงฯ

23 ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.4  เครือข่ายคอมพิวเตอร์-Network 6.9 8.4 1.5
ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ – Information Capital Survey คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP เครือข่ายคอมพิวเตอร์-Network 16. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network) ของส่วนราชการ ช่วยอำนวยความสะดวกต่อการปฏิบัติงานของข้าพเจ้า 6.9 8.4 1.5 GAP เฉลี่ย Information Capital Survey = 1.7

24 ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.2 ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP) ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ–Organization Climate Survey คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP ความสอดคล้องเชื่อมโยงกันในองค์การ Alignment 17. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของส่วนราชการ 6.9 8.4 1.5 18. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหาร สามารถบริหารจัดการองค์การให้บรรลุเป้าหมายได้ตามยุทธศาสตร์ 7.0 8.5 19. ผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชา เปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานได้อย่างอิสระ เพื่อการพัฒนาองค์การให้ดีขึ้น 6.6 1.9 20. สภาพแวดล้อมการทำงาน ในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าทำงานอย่างมีความสุข 8.6 2.0 21. ปริมาณงานที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมาย มีความสมดุลกับเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 6.8 1.6 22. ข้าพเจ้าได้รับการสนับสนุนให้มีอุปกรณ์และเครื่องมือที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน อย่างเพียงพอ เฉลี่ย Alignment 1.7 ชำนาญงาน /ว.ปฏิบัติการ ว.ปฏิบัติการ/ ว.เชี่ยวชาญ

25 ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.2 ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP) ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ–Organization Climate Survey คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP ความสำเร็จขององค์การ Execution 23. ข้าพเจ้ามีความมุ่งมั่นตั้งใจ และยินดีที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่เพื่อให้ส่วนราชการบรรลุเป้าหมาย 8.5 9.0 0.5 24. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีการให้รางวัลหรือยกย่องชมเชยบุคลากรที่ทุ่มเทให้แก่องค์การอย่างเหมาะสม 6.2 8.4 2.2 25. ข้าพเจ้าสามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ได้ตลอดเวลา รวมทั้งได้รับการสนับสนุนเพื่อให้การทำงานประสบความสำเร็จ 6.9 1.6 26. ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานของข้าพเจ้ามักจะติดตามความคืบหน้าของงาน เพื่อช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน 6.8 27. ส่วนราชการของข้าพเจ้าส่งเสริมการทำงานเป็นทีม เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และการทำงานที่มีคุณภาพดี 7.0 8.7 1.7 เฉลี่ย Execution 1.5 กลุ่มทั่วไป/ กลุ่มวิชาการ ว.ปฏิบัติการ

26 GAP เฉลี่ย Organization Climate Survey = 1.6
ค่าเฉลี่ยกลาง = 1.2 ระดับความเห็น ความสำคัญและส่วนต่าง (GAP) ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ–Organization Climate Survey คำถาม ความเห็น ความสำคัญ GAP Renewal การสร้างสิ่งใหม่ 28. ส่วนราชการของข้าพเจ้าสามารถปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อการบรรลุภารกิจ 6.7 8.4 1.7 29. ข้าพเจ้ารู้สึกว่างานของข้าพเจ้ามีความ ท้าทาย และช่วยให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะความสามารถใหม่ ๆ และมีประสบการณ์มากขึ้น 7.4 1.0 30. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีการนำการเรียนรู้จากบุคลากรภายใน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการ ระบบงาน ขั้นตอนทำงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ย Renewal 1.5 ว.เชี่ยวชาญ GAP เฉลี่ย Organization Climate Survey = 1.6

27 สิ่งที่กรมอนามัยจะต้องดำเนินการ
KPI 8.3 จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี 2556 โดย ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้า และผลการสำรวจ Survey Online เพื่อให้ GAP 2 < GAPกลาง - ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ เช่น ปรับปรุงฐานข้อมูล ระบบสนับสนุนการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน การอัพเดทข้อมูลสม่ำเสมอ ระบบสืบค้นข้อมูลบนเว็บไซต์ ปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศจากข้อเสนอแนะ/ร้องเรียนของผู้ใช้งาน การสำรองข้อมูล KPI 9.2 จัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การประจำปี 2556 โดย ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้า และผลการสำรวจ Survey Online KPI 10.2

28 แนวทางการดำเนินการ  คณะทำงานหมวด 2-6 หน่วยงานในสังกัด ส่วนที่ 1
เจ้าภาพหมวดดำเนินการ ในส่วน ที่ต้องดำเนินการในภาพรวมของกรมอนามัย จัดทำแผนที่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้า และผลการสำรวจ ปรับปรุงประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ส่วนที่ 1 ดำเนินการตัวชี้วัดที่ 7-11 มิติการพัฒนาองค์การ ร่วมกับกรมอนามัย ส่วนที่ 2 ดำเนินการพัฒนาองค์กรภายในหน่วยงาน โดยนำผลการสำรวจออนไลน์มาพิจารณากำหนดแนวทาง ส่วนที่ 2 ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน

29 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน
ส่วนที่ 1 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลแผน/ผลการดำเนินงาน โครงการและงบประมาณให้มีความครบถ้วน และทันสมัย ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร กรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 10 ประเด็น การปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย (รอการกำหนดตัวชี้วัด) ตัวชี้วัดที่ 11

30 ส่วนที่ 2 ภาพรวมการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน
หลักการ กรมอนามัยมีเจตนารมณ์ให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาองค์กรเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (กลมกลืนไปกับการปฏิบัติงานปกติ) ไม่ควรกำหนดเรื่องนี้เป็นตัวชี้วัด และมีการประเมินผลแบบให้คะแนน เพราะจะทำให้เป็นภาระงานเอกสารและอาจไม่ได้ข้อมูลการพัฒนาองค์กรตามความเป็นจริง แนวทาง : ให้ทุกหน่วยงานดำเนินการพัฒนาองค์กร โดยมีอิสระที่จะเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ ได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน และรายงานผลการดำเนินงานให้กรมอนามัยทราบ การสนับสนุน :  กพร.จะสอบถามเป้าหมายการพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน และความต้องการสนับสนุน เพื่อจัดทำแผนสนองความต้องการ กพร. ร่วมกับเจ้าภาพหมวดจัดกิจกรรม เพื่อให้การสนับสนุน สร้างความเข้มแข็งให้หน่วยงานต่าง ๆ เช่น การทบทวนความรู้ การเยี่ยมชม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกวด ฯลฯ

31 ส่วนที่ 2 ภาพรวมการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน (ต่อ)
การประเมินผล : ให้เขียนรายงานที่แสดงให้เห็นกระบวนการทำงานและผลที่เกิดขึ้น ตามประเด็นการพัฒนาที่หน่วยงานดำเนินการ เช่น การนำองค์กรและการสื่อสาร การวางแผนของหน่วยงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการฐานข้อมูล สารสนเทศและความรู้ การพัฒนาบุคลากร และการสร้างบรรยากาศการทำงาน การจัดการกระบวนการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และให้บริการที่ดีแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น บรรลุเป้าหมายของหน่วยงานและส่งผลต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของกรมอนามัย (จำนวนประเด็นที่รายงาน ขึ้นอยู่กับความพร้อมของหน่วยงาน)

32 รายงานการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน
แนวทางการเขียนรายงาน รายงานการพัฒนาองค์กรระดับหน่วยงาน หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการพัฒนาองค์กร ในแต่ละประเด็นต่อไปนี้อย่างไร (อธิบายให้เห็นภาพการดำเนินการ หากมีเอกสารหรือหลักฐานที่แสดงถึงกิจกรรมที่สำคัญ นำไปไว้ในภาคผนวก) หมวด 1 การนำองค์การ 1. การกำหนดทิศทางขององค์กร ครอบคลุมวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และสร้างการรับรู้เข้าใจให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ 2. มอบอำนาจการตัดสินใจแก่เจ้าหน้าที่ระดับต่าง ๆ 3. ผู้บริหารส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนรู้และสร้างความผูกพัน ร่วมมือและสร้างแรงจูงใจ 4. การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญและมีการติดตาม กำกับประเมินผลการปฏิบัติราชการ 5. มีนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ในการกำกับดูแลองค์การที่ดี 6. มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 7. มีมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการทำงานตามภารกิจ

33 แนวทางการเขียนรายงาน
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 1) กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ/หรือแผนปฏิบัติราชการประจำปี ที่นำปัจจัยภายในและภายนอกมาวิเคราะห์ และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง (SP1 2 7) 2. การจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคล้องกับแผน 4 ปีและแผน 1 ปี (SP3) 3. การสื่อสารทำความเข้าใจ ให้ผู้เกี่ยวข้องนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ (SP4) 4. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและบุคคล(SP5) 5. การติดตามและประเมินผล (SP6)

34 แนวทางการเขียนรายงาน
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 1. การกำหนดมาตรฐานและระยะเวลาการให้บริการ และติดตามคุณภาพการให้บริการ (CS9 CS10) 2. ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีประสิทธิภาพ (CS1 CS2) 3. ระบบจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ เพื่อสนองตอบความต้องการได้อย่างทันท่วงที(CS3 CS4) 4. การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (CS5) 5. เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม (CS6) 6. มีการวัดความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจ (CS7 CS8)

35 แนวทางการเขียนรายงาน
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 1. มีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย (IT1) 2. มีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน (IT2 IT3) 3. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ความรู้และงานบริการ (IT4) 4. มีระบบติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัย ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (IT5) 5. มีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ (IT6) 6. มีการจัดทำแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ และนำแผนไปปฏิบัติ

36 แนวทางการเขียนรายงาน
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1.มีระบบการประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ ของบุคลากร เพื่อสร้างแรงจูงใจ และให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร 2. มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผลและเป็นธรรมและแจ้งผลให้บุคลากรทราบ 3. มีการพัฒนาบุคลากรโดยดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม และสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรต่อภาพรวมการพัฒนาบุคลากร (HR3) 4. มีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม ประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร (HR4) 5. มีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากร (HR5)

37 แนวทางการเขียนรายงาน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 1. กำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่ส่งผลต่อการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ จากยุทธศาสตร์ พันธกิจและความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (PM1) 2. จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ ออกแบบและกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน (PM2 PM3 PM5) 3. สื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องนำกระบวนการดังกล่าวไปปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการให้บริการดีขึ้น (PM3) 4. มีการปรับปรุงกระบวนการเพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้น ป้องกันข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำและสูญเสีย (PM6) 5. มีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่างๆที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การส่งรายงาน : จัดทำเป็นเอกสาร หรือเป็นไฟล์ข้อมูล พร้อมนำไฟล์หลักฐานที่อ้างอิงหรือตัวอย่างการดำเนินการ Upload ขึ้นเว็บไซต์ของหน่วยงาน ระบุ URL ที่เก็บข้อมูลในระบบ DOC รายงานผลตามคำรับรองฯ กำหนดส่งรายงาน : ภายในวันที่ 30 กันยายน 2556

38 การรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
4 การรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ การรายงาน : ประเมินตนเองตามแบบฟอร์ม Self Assessment Report - SAR (ไฟล์ Excel ที่ประกอบด้วยผลงานแต่ละตัวชี้วัด เพื่อใช้แนบไฟล์ในระบบ DOC และตั้งชื่อไฟล์เป็นภาษาอังกฤษหรือตัวเลขอารบิค) ช่องทางการรายงาน : ผ่านศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย (DOC) พร้อมทั้งนำหลักฐานที่แสดงถึงความสำเร็จอัพโหลด (Upload) ขึ้นเว็บไซต์ของหน่วยงานตนเอง ระยะเวลาการรายงาน - รอบ 6 เดือน ส่งรายงาน ภายในวันที่ 1 เมษายน 2556 - รอบ 9 เดือน ส่งรายงาน ภายในวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 - รอบ 12 เดือน ส่งรายงาน ภายในวันที่ 30 กันยายน 2556 เมื่อพ้นกำหนดการรายงานแต่ละรอบ ระบบจะปิด 5 วันทำการ เพื่อให้ข้อมูลนิ่ง และเจ้าภาพเข้าประเมินผล

39 การรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
4 การรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ผู้ทำหน้าที่รายงานผล ต้องมี User name และ Password ตามที่ผู้ดูแลระบบ DOC กำหนดให้ การเข้าดูผล : บุคลากรของกรมอนามัยทุกคนสามารถเข้าดูผลได้ โดยไม่ต้องใช้ User name และ Password กพร.จัดทำคู่มือการรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ในระบบ DOC Down load จากเว็บไซต์ กพร.

40 เข้าศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน
กรมอนามัย

41 การเข้าดูผล : บุคลากรของกรมอนามัยทุกคน
สามารถเข้าดูผลได้ โดยไม่ต้องใช้ User name และ Password

42 หน้ารายงานผลการปฏิบัติงาน

43 การรายงานผลการปฏิบัติงาน
ต้องมี User name และ Password

44 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google