ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย
2
1.17 การอ่านภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย ให้กำหนด
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 1.17 การอ่านภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย ให้กำหนด จากเครื่องหมายพินทุ ( ) ที่อยู่ใต้พยัญชนะ และ เครื่องหมาย นิคหิต ( )ที่อยู่บนสระ ดังนี้ . O 1) ถ้าเป็นธาตุลงท้ายด้วยพยัญชนะ จะมีเครื่องหมายพินทุใต้พยัญชนะตัวสุดท้าย แสดงว่าพยัญชนะนั้นไม่มีสระประสม เวลาอ่านให้ออกเสียงคล้ายมีสระ อึ หรือ เออะ ในภาษาไทย ประสม เช่น ลภฺ (ธาตุ) อ่านว่า หรือ ละ - เภอะ จุรฺ (ธาตุ) อ่านว่า หรือ จุ - เรอะ
3
2) ถ้าเป็นคำนามทั่วไป เครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะตัวใด
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 2) ถ้าเป็นคำนามทั่วไป เครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะตัวใด แสดงว่า พยัญชนะนั้นเป็นตัวสะกด ก็ให้พยัญชนะนั้นเป็น ตัวสะกด เช่น ธนินฺ อ่านว่า ธะ – นิน (ตัว น เป็นตัวสะกด) ภาณฺฑ อ่านว่า ภาณ – ฑะ (ตัว ณ เป็นตัวสะกด) ลพฺธ อ่านว่า ลัพ - ธะ (ตัว พ เป็นตัวสะกด)
4
อ่านว่า วยา - ปา - ทะ (ว กับ ย ออกเสียงกล้ำ)
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 3) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะอื่น และมีพยัญชนะอรรธสระ คือ ย ร ล ว ตามหลัง แสดงว่าเป็นอักษรควบ ให้อ่านออกเสียงควบกล้ำ เช่น วฺยาปาท อินฺทฺริย อศฺว อ่านว่า วยา - ปา - ทะ (ว กับ ย ออกเสียงกล้ำ) อ่านว่า อิน - ทริ - ยะ (ท กับ ร ออกเสียงกล้ำ) อ่านว่า อัศ - ศวะ (ศ กับ ว ออกเสียงกล้ำ)
5
กลฺยาณ อ่านว่า กัล-ลฺ -ยา -ณะ
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 4) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้ตัว ล และมีพยัญชนะอื่นตาม ให้อ่านออกเสียงต่อเนื่องกัน คือ ตัว ล ใช้เป็นตัวสะกด และออกเสียงเลื่อนหน่อยหนึ่ง เช่น กลฺยาณ อ่านว่า กัล-ลฺ -ยา -ณะ
6
ปศฺจิม อ่านว่า ปัศ - ศฺ - จิม ภีษฺม อ่านว่า ภีษ - ษฺ -มะ
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 5) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้พยัญชนะ ศ ษ ส และมีพยัญชนะอื่นตามหลัง ถือว่าตัว ศ ษ ส เป็นตัวสะกด ให้ออกเสียงมีลมเสียดแทรกที่ไรฟันเล็กน้อย เช่น ปศฺจิม อ่านว่า ปัศ - ศฺ - จิม ภีษฺม อ่านว่า ภีษ - ษฺ -มะ ตสฺมาตฺ อ่านว่า ตัส -สฺ - มาต
7
พรฺหมา อ่านว่า พระ -หฺ - มา หรือ พระ - หึ - มา
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 6) ถ้าเครื่องหมายพินทุอยู่ใต้ตัว ห ให้ออกเสียงในลำคอ คือ ออกเสียงคล้ายกับ ตัว ห ประสมด้วยสระ อึ ในภาษาไทย เช่น พรฺหมา อ่านว่า พระ -หฺ - มา หรือ พระ - หึ - มา พฺราหฺมณ อ่านว่า พรา - หฺ - มะ - นะ หรือ พรา - หึ - มะ - นะ
8
นฺฤปตึ อ่านว่า นรึ (หรือ นริ) – ปะ – ติม คนฺตํ อ่านว่า คัน - ตุม
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย 7) เครื่องหมายนิคหิต ที่มาคู่กับสระ อะ อิ และ อุ ให้ออกเสียงเป็นตัว ม สะกดเสมอ เช่น กุลํ อ่านว่า กุ- ลัม นฺฤปตึ อ่านว่า นรึ (หรือ นริ) – ปะ – ติม คนฺตํ อ่านว่า คัน - ตุม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.