ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ปัญญาประดิษฐ์ เป็นศาสตร์ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่เน้นการสร้าง พัฒนา ขั้นตอนวิธี หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อสามารถปฏิบัติการ คำนวณ แสดงผล หรือแสดงการกระทำที่เรียกได้ว่ามีปัญญาหรือฉลาด
2
ปัญญาหรือความฉลาด ความสามารถที่จะเรียนรู้และเข้าใจ จากประสบการณ์ที่ได้พบ ความสามารถที่จะใช้ความรู้ ประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาที่ไม่เคยพบ มาก่อนได้ ความสามารถในเชิงการคิดแบบนามธรรม (abstract) และ การใช้การ เปรียบเทียบ (analogy) ความสามารถในการใช้ตรรกะ หรือหลักการทางเหตุและผลในการแก้ ปัญหา ความสามารถในด้านอื่น ๆ เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดใหม่ ความใฝ่รู้และสนใจ
3
จุดมุ่งหมายของปัญญาประดิษฐ์
เพื่อจำลองปัญญาของมนุษย์ (Replicate Human Intelligence) AI เพื่อการแก้ปัญหาที่ต้องใช้ ความรู้จำนวนมาก (Solve Knowledge-Intensive tasks) เพื่อสร้างหรือเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ (perception) กับการกระทำ (action) อย่างฉลาด เพื่อทำให้การโต้ตอบและการสื่อสาร ระหว่าง มนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
4
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์
การประมวลภาษาธรรมชาติ ระบบภาพ ระบบเครือข่ายเส้นประสาท หุ่นยนต์ ระบบผู้เชี่ยวชาญ
5
ตัวอย่างของโปรแกรมประยุกต์สาขาต่าง ๆ ใน AI (Application areas of AI)
การเล่นเกม (Game playing) การรับรู้ภาษาพูด (Speech Recognition) การรับรู้ด้วยการมอง (Computer Vision)
6
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินใจได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
7
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก จะทำให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก
8
ส่วนประกอบของ ES ฐานความรู้ เครื่องอนุมาน 2.1 การอนุมานไปข้างหน้า
2.2 การอนุมานแบบย้อนหลัง ส่วนดึงความรู้ ส่วนอธิบาย การติดต่อกับผู้ใช้
9
ประเภทของความรู้ ความจริง ความสัมพันธ์ ขั้นตอน องค์ความรู้
10
การพัฒนา ES การวิเคราะห์ปัญหา ES สามารถนำไปแก้ปัญหาที่มีลักษณะดังนี้
- เหมาะกับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง - เหมาะกับการอนุมาน - Heuristic - ความรู้หรือตรรกะที่มีความไม่แน่นอน - ถ้า แล้ว
11
การพัฒนา ES (ต่อ) การเลือกอุปกรณ์ ต้องคำนึงถึง
2.1 การแสดงความรู้ต้องง่าย และครบถ้วน โดย มีโครงสร้างที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน สะดวก เข้าใจง่าย และเหมาะสม 2.2 วิธีการอนุมาน 2.3 การติดต่อกับผู้ใช้ 2.4 ชุดคำสั่ง 2.5 การธำรงรักษาและการพัฒนาระบบ
12
การพัฒนา ES (ต่อ) 3. การถอดความรู้ เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบความฉลาด ต้องอาศัย วิศวกรความรู้ ในการรวบรวมและวิเคราะห์ความรู้ 4. การสร้างต้นแบบ นำส่วนต่างๆมาประกอบกันสร้างเป็นต้นแบบขึ้นมา ต้องพิจารณาว่า คำตอบที่จะได้รับเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ 5. การขยาย ทดสอบ และบำรุงรักษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.