ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhunpol Prapass ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของเจ้าพนักงานสรรพสามิต
ควบคุมโรงงานสุรา โดย สมพงศ์ ทองแป้น
2
วิธีการจัดเก็บภาษีสุรา
1. สุราที่ทำในราชอาณาจักร 2. สุราที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร 3. การทำสุราสำหรับใช้ในบ้านเรือน
3
วิธีการควบคุมการจัดเก็บภาษี
1. ใช้เจ้าหน้าที่ควบคุมอยู่ประจำโรงงาน 2. ใช้เครื่องหมายแสดงการเสียภาษี 2.1 แสตมป์ การปิดและขีดฆ่าแสตมป์สุรา - การปิดจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้ปิดครบถ้วนตามอัตราภาษีและได้ขีดฆ่าแสตมป์แล้ว - ใช้กาวทาหลังดวงแสตมป์แล้วปิดคร่อมปากภาชนะอย่างแนบแน่นจนไม่สามารถแกะออกได้ และอยู่ในสภาพที่จะต้องถูกทำลายทันทีเมื่อเปิดภาชนะบรรจุสุรานั้น 2.2 ใช้สิ่งผนึกภาชนะจดทะเบียน หรือสิ่งผนึกภาชนะของทางราชการ 2.3 ใช้ตราของทางราชการประทับ 3. ใช้มาตรวัดและวิธีทิ้งดิ่งเพื่อตรวจสอบการเสียภาษี 4. การบัญชี
4
การขนสุราที่ยังไม่เสียภาษีออกจากโรงงานสุรา
กรมสรรพสามิตซึ่งมีหน้าที่เก็บภาษีสุราจึงมีวิธีการปราบปราม ทำและการค้าสุราเถื่อนมิให้ลุกลามแพร่หลายมากมายไปได้ นั่นคือ 1. การปราบปรามโดยตรง 2. การป้องกัน
5
การขนสุราที่เสียภาษีแล้วออกจากโรงงานสุรา
1. การกำหนดให้มีใบอนุญาตขนสุราเป็นการติดตาม ดูแลน้ำสุราตั้งแต่ออกจากโรงงานสุรา 2. สุราเป็นสินค้าที่ควบคุมการทำ การขาย การได้มา และการครอบครองโดยออกกฎหมายไว้ 3. สะดวกในการตรวจปราบปราม 4. เพื่อคุ้มครองผู้กระทำการโดยสุจริต 5. การมีใบอนุญาตขนสุราเป็นหลักฐานในการซื้อขาย และหลักฐานทางบัญชี
6
วัตถุประสงค์ของการมีเจ้าหน้าที่
ควบคุมโรงงานสุรา 1. เพื่อติดตามการดำเนินงานของผู้มีหน้าที่เสียภาษีอย่างใกล้ชิด 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษี 3. เพื่อป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษี
7
เหตุที่ต้องกำหนดระเบียบแยกสุรากลั่นและสุราแช่
1. ความแตกต่างในขบวนการผลิต 2. ความเข้มงวดในการควบคุม 3. วิธีการเสียภาษี 4. อัตราภาษี 5. แนวโน้มในการหลีกเลี่ยงภาษี
8
สถานภาพทางกฎหมายของผู้ควบคุม
1. ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยการควบคุมโรงงานสุรากลั่น พ.ศ. 2533 2. ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง แต่งตั้งเจ้าพนักงานสรรพสามิต พนักงานเจ้าหน้าที่ และเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ยาสูบ และไพ่ พ.ศ. 2547 3.เจ้าพนักงานตาม มาตรา 28,29
9
หน้าที่และความรับผิดชอบ
1. ควบคุมการรับ – จ่ายวัตถุดิบ(กากน้ำตาล) - การรับวัตถุดิบ - การจ่ายวัตถุดิบ - วัตถุดิบคงเหลือ 2. ควบคุมการหมักส่า - การใช้วัตถุดิบ - ระยะเวลาหมักส่า - กรรมวิธีการหมักส่า
10
3. ควบคุมการต้มกลั่นสุรา
- ตรวจสอบแรงแอลกอฮอล์ที่กลั่นได้ - รับน้ำสุราที่กลั่นได้ - กรรมวิธีการกลั่น 4. ควบคุมการเก็บรักษาน้ำสุราที่ยังไม่บรรจุภาชนะ - รับน้ำสุราเข้าถัง - การปรุงแต่งน้ำสุราตามดีกรีที่ต้องการ เพื่อนำไปบรรจุภาชนะออกจำหน่าย 5. ควบคุมการบรรจุภาชนะและปิดแสตมป์สุรา - จ่ายน้ำสุราจากถังเก็บสุรา - บรรจุภาชนะ - ปิดฉลาก - ปิดแสตมป์สุรา
11
6. ควบคุมการเก็บรักษาสุราที่บรรจุภาชนะแล้ว
- เก็บไว้ในอาคารเก็บสุราสำเร็จรูป - ใส่กุญแจที่บานประตู ผู้ควบคุมโรงงาน 1 ที่ ผู้เสียภาษี 1 ที่ 7. ควบคุมการขนสุราสำเร็จรูปออกไปจำหน่าย - ผู้เสียภาษียื่นเรื่องราวขอใบอนุญาตขนสุรา - ตรวจสอบจำนวนและชนิดสุราที่ปิดแสตมป์ถูกต้องครบถ้วน - ออกใบอนุญาตขนสุรา 8. ควบคุมการรับแสตมป์สุราจากสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่มาเก็บไว้ที่โรงงานสุรา - ผู้เสียภาษียื่นเรื่องราวขอรับแสตมป์ - ตรวจสอบจำนวนแสตมป์สุราที่จะขอรับ - ควบคุมการรับแสตมป์สุรามาเก็บไว้ที่โรงงานสุรา
12
9. การจัดทำงบเดือน - การทำสุรา แบบ ส. 201 - วันรับราชการ แบบ ส.ส.2/23 - รับ – จ่าย และแสตมป์สุราคงเหลือ - สำเนาบันทึกการตรวจราชการโรงงานสุรา - ส่งเงินค่าธรรมเนียมการทำการนอกเวลา
13
สวัสดีครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.