ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กระบวนในการชักจูงใจ
2
ความหมายของการจูงใจ การจูงใจมาจากภาษาลาตินว่า movere
เป็นกระบวนการที่สภาาพทางกายหรือสภาพทางจิดเกิดภาวะไม่เพียงพอ โดยสภาวะจะไปกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมหรือแรงขับมุ่งให้เกิดตามเป้าหมาย เกิดจาก ความต้องการ แรงขับ เป้าหมาย
3
ลักษณะของแรงจูงใจ 1. แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives)
2. แรงจูงใจภายนอก (extrinsic motives จำแนกแนกแรงจูง (clssification of motivs) แรงขับปฐมภูมิ เช่น การหิว ความกระหาย อุณหภูมิ เป็นต้น แรงขับทุติยภูมิ เช่น ความรัก การยอมรับ ความก้าวร้าว
4
ทฤษฏีของแรงจูงใจ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) 2. ทฤษฎีของความต้องการและแรงขับ (Theory of needs and drives) 3. ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) 4. ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)
5
5. ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึก (Theory of unconscious motivation)
6. ทฤษฎีเกี่ยวกับการรู้ (Cognitive theory) 7. ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory) 8. ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory)
6
การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน
แรงกระตุ้นภายใน Internal inspiration แรงกระตุ้นภายนอก External inspiration แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงาน 1. ขวัญและกำลังใจในการทำงาน หมายถึง ความรัก ความศรัทธา
7
3. ความสัมพันธ์ของคนในหน่วยงาน
2. การเผยแพร่และการแสดงผลงาน 3. ความสัมพันธ์ของคนในหน่วยงาน สิ่งจูงใจให้คนพอใจในการทำงาน มี 5 ประการ ดังนี้ 1. งานสำเร็จลุล่วงด้วยดี 2. ถ้อยทีถ้อยอาศัย 3. สุขใจกับงานที่ปฏิบัติ
8
บรรยากาศในการทำงาน 4. เร่งรัดและรับผิดชอบ 5. ผลตอบแทนคือความก้าวหน้า
1. สถานที่ทำงาน เป็นสิ่งประกอบที่ทำให้การทำงานมีความสุข 2. ภารกิจหรืองานที่ทำ มีความชัดเจนในภาระหน้าที่ งานมีความต่อเนื่อง มีความมั่นคง
9
3. เพื่อนร่วมงาน สร้างบรรยากาศการเยี่ยมครอบครัว จัดกิจกรรมนันทนาการ
4. เครื่องอำนวยความสะดวกในการทำงาน มีเครื่องทุนแรง ห้องสมุด ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการ 5. การรับทราบข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยเกี่ยวกับงานของตน -รับทราบข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ โทรสาร หรือการไปศึกษาดูงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.