ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRonnapee Chan'ocha ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เทคนิคการวิจัยเพื่อแสวงหา และสร้างองค์ความรู้ ภาคพิเศษ
ดร. ปาน กิมปี
2
โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง บุคคลแห่งการเรียนรู้ใหม่
เรียนรู้ มีความสุข โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง : โลกาภิวัตน์ การเรียนรู้อย่างเยี่ยม เพื่อ บุคคลแห่งการเรียนรู้ใหม่ empowerment
4
เรื่องที่ 5 ความรู้ ปัญหา วิจัย ความรู้
5
ปัญหาการวิจัย ปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ทันที (ไม่วิจัย)
ปัญหาที่ต้องแก้ไขด้วยการวิจัย มาก/น้อยกับศักยภาพของเรา พอกับศักยภาพของเรา สรุปประเด็นปัญหาที่จำเป็น ต้องวิจัยให้ชัดเจน (สะดุด)
6
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สภาพปัญหาในประเด็นที่จะวิจัย แสดงให้เห็นว่ายังขาดอะไร จะหาคำตอบอะไร งานวิจัยจะเสริมเต็มต่อตรงไหน
7
กระบวนทัศน์ (Paradigm)
ผู้สูงอายุเป็นภาระ เป็นบุคคลที่มีคุณค่า หน่วยงานเป็นเจ้าของ ชุมชนเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายคือเพื่อน หุ้นส่วนสำคัญของกศน. ทำปัญหาให้พ้นไป แก้ปัญหาให้เกิดปัญญา “มุมต่างของวิธีการคิด”
8
วัตถุประสงค์การวิจัย
เชื่อมต่อจากปัญหาการวิจัย จากปัญหาการวิจัยและความสำคัญของ ปัญหาผู้วิจัยจึงมีวัตถุประสงค์ดังนี้ จำนวนข้อวัตถุประสงค์การวิจัยเหมาะสม เขียนประโยคบอกเล่าที่กระชับ
9
ขอบเขตด้านพื้นที่ ขอบเขตด้านเวลา ขอบเขตด้านเนื้อหา ขอบเขตด้าน ...
ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านพื้นที่ ขอบเขตด้านเวลา ขอบเขตด้านเนื้อหา ขอบเขตด้าน ...
10
คำจำกัดความ/นิยามศัพท์ นิยามปฏิบัติการ
การให้ความหมายของ คำ/ข้อความที่ใช้ในการวิจัย คำหลัก/ตัวแปร การดำเนินการวิจัย/เขียน ตรงกับนิยาม
11
สมมติฐาน (HO)
12
วัตถุประสงค์และกรอบการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเขตการวิจัย ข้อจำกัดของการวิจัย คำจำกัดความ สมมติฐาน ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย สาระที่เสนอเป็นบทที่ 1 : บทนำ
13
สามหลักของการวิจัย แนวคิด/ทฤษฎี เนื้อหา ระเบียบวิธีวิจัย
14
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิด/ทฤษฎี (1) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
15
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิด/ทฤษฎี (1) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม นำสู่ สมดุล พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
16
การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเสนอสาระเกี่ยวกับเนื้อหา การเสนอสาระเกี่ยวกับแนวคิด/ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งเนื้อหา แนวคิด/ทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจัย แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ[ไม่ควรใช้แหล่งทุติยภูมิ] การสรุปความสำคัญแต่ละหัวข้อ เป็นลำดับชั้นอย่างสอดคล้องกัน เสนอไว้เป็นบทที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
17
การเลือกใช้ระเบียบวิธีวิจัย
Form follows function.
18
ประเภทการประเมิน ประเภทการตัดสินใจ
Stufflebeam’s CIPP Model ประเภทการประเมิน ประเภทการตัดสินใจ การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context) การตัดสินใจเพื่อการวางแผน การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input) การตัดสินใจเพื่อการกำหนดโครงสร้าง การประเมินกระบวนการ (Process) การตัดสินใจเพื่อปฏิบัติ การประเมินผลผลิต (Product) การตัดสินใจเพื่อทบทวนโครงการ
19
ประเด็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
ผู้วิจัยเป็นเครื่องมือการวิจัย การรับรู้จากคนนอก (Outsider perspective) การรับรู้จากคนใน (Insider perspective)
20
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
หน่วยการวิเคราะห์ (Unit of Analysis) การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง (Sampling) การเป็นตัวแทนที่ดี (Good Representative)
21
ตัวแปร งานวิจัยมีตัวแปรอะไรบ้าง ตัวแปรต้น/ตัวแปรตาม
ระวังตัวแปรเกิน/ตัวแปรควบคุม
22
ประเภทของตัวแปร 1. ตัวแปรลักษณะกายภาพ (Assigned Variable)
เช่น เพศ อายุ 2. ตัวแปรจัดกระทำ (Manipulated Variable) เช่น การผ่านการฝึกอบรม วิธีการเรียนรู้
23
พิจารณาจากทฤษฎี พิจารณาจากแบบการวิจัย พิจารณาจากการปฏิบัติ
การกำหนดตัวแปร พิจารณาจากทฤษฎี พิจารณาจากแบบการวิจัย พิจารณาจากการปฏิบัติ
24
กรอบความคิดการวิจัย คือ การประมวลความคิดรวบยอดของการวิจัย
(ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร)
25
รูปแบบการกำหนดกรอบความคิดการวิจัย
แผนภูมิ คำบรรยาย คำบรรยายประกอบแผนภูมิ
26
กรอบความคิดการวิจัย เป็นการชี้นำงานวิจัย
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย เป็นแนวทางในการเก็บข้อมูล เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนสรุปผลการวิจัย
27
ระดับการวัด Nominal scale : มาตรานามบัญญัติ
Ordinal scale : มาตราจัดอันดับ Interval scale : มาตราอันตรภาค Ratio scale : มาตราอัตราส่วน
28
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
กำหนดเครื่องมือการวิจัย ให้เหมาะสมกับข้อมูล
29
คุณภาพของเครื่องมือ ความตรง (Validity)
เช่น ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ,ระบุค่าIOC ความเที่ยง (Reliability) เช่น การใช้ค่าสถิติ (ค่า r ควรมีค่าเท่าไร)
30
การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า วิธีใดจะเหมาะสมที่สุด
จำนวนการได้รับกลับคืน การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangular Method) พื้นที่ เวลา คน
31
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
32
ประชากร : กลุ่มตัวอย่าง พารามิเตอร์ : สถิติ
ประชากร : กลุ่มตัวอย่าง พารามิเตอร์ : สถิติ Sampling กลุ่มตัวอย่าง ประชากร ค่าพารามิเตอร์ µ , ค่าสถิติ X, S.D., r Generalization
33
เสนอไว้เป็นบทที่ 3 : วิธีดำเนินการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร กรอบความคิดการวิจัย เครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เสนอไว้เป็นบทที่ 3 : วิธีดำเนินการวิจัย
34
ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลครบถ้วน และสอดคล้องกัน (หากมีการตรวจสอบสมมติฐานอธิบายให้ถูก) เข้าใจค่าสถิติและอธิบายได้ ถูกต้อง
35
เสนอเป็นตาราง บางเรื่องจัดเสนอเป็นแผนภูมิ คำบรรยาย การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล [เสนอตามเนื้อผ้า (ไม่อภิปราย)] เสนอไว้เป็นบทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
36
(arbitrary) 1…………………. % - 2…………………. 3………………… ข้อความ ระดับ X S.D. 3 2
37
การหาประสิทธิภาพของสื่อ
80 : : 90
38
การอธิบายส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน.............................
งานวิจัยเรื่องการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาหนี้สินของกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ระดับความคิดเห็น รายการ x S. D. 1) ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา 2) ความสามารถในการจัดทำบัญชีรายวัน 3) ความสามารถในการลดค่าใช้จ่าย รวม การอธิบายค่าเฉลี่ย การอธิบายส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
39
หาค่า X, S.D. บรรยายเฉพาะค่า X แล้วค่า S.D. ทำไม
40
สมมติฐาน : คะแนนการทดสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
คะแนน n S.D ค่า t p-value x ก่อนเรียน หลังเรียน p ≤ .01 ** พบว่าคะแนนการทดสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนก่อนเรียน และหลังเรียนแตกต่างกัน
41
x ** p ≤ .01 ผลการทดสอบ คะแนน n S.D. ค่า t p-value
ก่อนเรียน หลังเรียน ** p ≤ .01
42
Test normality ใช้ nonparametric
43
สรุปผลการวิจัย (ยูเรก้า) อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ (เสนอแนะจากผลการวิจัย)
44
งานวิจัยเรื่องการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาหนี้สินของกลุ่มผู้ใช้แรงงาน
ข้อเสนอแนะ 1) ควรศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่นประกอบ 2) ควรทำการวิจัยเชิงคุณภาพต่อการวิจัยเชิงปริมาณครั้งนี้ 3) การศึกษากระบวนการเรียนรู้ ควรมีการศึกษาความต้องการก่อน ( อย่าให้ข้อเสนอแนะลักษณะนี้)
45
สรุปผลการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย
สรุปผลการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย อภิปรายผล นำสาระบทที่ 2 มาประกอบ ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัย นี่คือบทที่ 5
46
งานวิจัยมีกี่บท ?
47
ภาคผนวก (Appendix) (ที่จำเป็นต้องรายงานไว้ บางเล่มหนากว่าเนื้อหา)
48
การเขียนชื่อเรื่องงานวิจัย
“ สูตร VIP ” (แต่ไม่ใช่สูตรสำเร็จเสมอไป)
49
I : Inquiry วิธีการศึกษา
V : Variable ตัวแปร I : Inquiry วิธีการศึกษา P : Population ประชากร
50
การเขียนรายงานการวิจัย
“ สูตร ABC ”
51
A : Accuracy ความถูกต้อง แม่นยำ
B : Brevity สั้น-กระชับ C : Consistency ความคงเส้นคงวา
52
A : Accuracy พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
53
B : Brevity สั้น - กระชับ
54
C : Consistency อื่นๆๆๆ ผู้เรียน / นักศึกษา / ผู้รับบริการ / ประชาชน
ผู้สอน / ครูผู้สอน / ครู อื่นๆๆๆ
55
เมื่อทำงานวิจัยเสร็จแล้วได้อะไร
สร้างองค์ความรู้ใหม่ เสริมสร้างคุณลักษณะของผู้วิจัย การจัดการความรู้ เครื่องมือในการสร้างพลัง (empowerment)
56
เกณฑ์ความสำเร็จ ; ฟันธง
ประเด็นการวิจัยใหม่ / ทันสมัย ข้อค้นพบ 2 ชั้นขึ้นไป (ค้นพบประเด็นหนึ่งแล้วต่อยอดข้อค้นพบต่อ) ออกแบบการวิจัยดีเยี่ยม ถูกต้อง ดำเนินตามขั้นตอนการวิจัยครบถ้วน เช่น การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง การ พัฒนาเครื่องมือการวิจัย เขียนรายงานการวิจัยสอดคล้อง ถูกต้องตามหลักการเขียนงานวิจัย ตรวจสอบการพิมพ์ ความสอดคล้องได้ถูกต้อง ครบถ้วน อื่นๆๆๆๆๆ
57
ขอเชิญสอบถาม ช่วยกันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ขอขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.