ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Demonstration School University of Phayao
บทที่ 2 ลมฟ้าอากาศ By Ukrit Chaimongkon Demonstration School University of Phayao
2
พายุฟ้าคะนอง ลมกระโชก คือปรากฏการณ์ที่เกิดจากลมเปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างฉับพลัน เพิ่มขึ้นและลดลงในระยะเวลาสั้น ๆ (พบน้อยครั้งมากเมื่อเกิดนานกว่าสองชั่วโมง) พายุฟ้าคะนอง (thunderstorm) คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดฝนตกหนัก ลมแรงฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า บางครั้งมีลูกเห็บตก (พายุฟ้าคะนองจะเกิดเฉพาะถิ่น ในระยะเวลาสั้น ๆ และครอบคลุมพื้นที่ไม่มากนัก เกิดในฤดูร้อนที่อากาศร้อนมาก ๆ)
3
การเกิดพายุฟ้าคะนองมีขั้นตอนดังนี้
น้ำระเหยเป็นไอได้มาก ไอน้ำลอยตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนถึงระดับที่อุณหภูมิต่ำ ไอน้ำจะควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆคิวมูโลนิบัส เกิดฝนตกหนักมีลมกระโชกแรง กระแสลมจะหอบเอาหยดน้ำบางส่วนขึ้นสู่เบื้องบนที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ทำให้หยดน้ำกลายเป็นน้ำแข็งตกลงสู่เบื้องล่าง เกล็ดน้ำแข็งบางส่วนจะถูกกระแสลมหอบขึ้นสู่เบื้องบนอีก
4
4.2 ถ้าประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่จากก้อนเมฆสู่พื้นโลก เรียกว่าฟ้าผ่า
การที่เกล็ดน้ำแข็งเคลื่อนที่สวนทางกัน ทำให้เกิดการสะสมและแลกเปลี่ยนประจุไฟฟ้าในก้อนเมฆดังนี้ 4.1 ถ้าเกิดในก้อนเมฆหรือระหว่างก้อนเมฆจะทำให้เกิดความต่างศักย์มากพอที่จะทำให้เกิดฟ้าแลบ 4.2 ถ้าประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่จากก้อนเมฆสู่พื้นโลก เรียกว่าฟ้าผ่า 4.3 ในขณะที่ฟ้าผ่าทำให้อากาศโดยรอบมีความร้อนสูง (3000 องศาเซลเซียส) ทำให้อากาศบริเวณนั้นขยายตัวอย่างรวดเร็วเกิดเป็นเสียงดังที่เรียกว่า ฟ้าร้อง
5
ลักษณะการเกิดพายุฟ้าคะนอง
เมฆทวีจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ลมพัดแรง ลมกระโชคเป็นครั้งคราว ฝนตกหนักในเวลาต่อมา บางครั้งลูกเห็บตก เกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เกิดลมวง
6
ผลกระทบที่เกิดจากพายุฟ้าคะนอง
ลมกระโชคแรง ลมแรง ทำให้บ้านเรือนเสียหาย ต้นไม้โคน ป้ายโฆษณาลมพังเสียหาย ก่อให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน
7
เกิดฟ้าผ่า เป็นอันตรายต่อสัตว์ และมนุษย์
พายุฟ้าคะนองจะเกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกพื้นที่ โดยเฉพาะเดือนมีนาคม ถึง พฤษภาคม พายุฟ้าคะนองที่มีความรุนแรงมากกว่าปรกติเราเรียกว่า “พายุฤดูร้อน” เกิดลูกเห็บตก เป็นอันตรายต่อมนุษย์ พืชผลทางการเกษตร และสิ่งก่อสร้าง
8
การป้องกันอันตรายจากพายุฟ้าคะนอง
หากอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อภัยพายุฤดูร้อน ควรเตรียมรับมือดังนี้ ไม่ยืนอยู่ในที่โล่งแจ้ง ถ้าเกิดพายุฟ้าคะนอง ให้อยู่ในที่ที่มีความแข็งแรงมั่นคง ออกจากวัสดุที่เป็นสื่อไฟฟ้าทุกชนิด เช่น เหล็ก โลหะ ต้นไม้ในที่โล่งแจ้ง ควรหลีกให้ไกลจากฝังทะเล เพื่อหลีกเลี่ยง คลื่นในทะเลซัดฝัง ระวังน้ำป่าไหลหลาก ไม่ควรอยู่ไนที่ต่ำ น้ำจะท่วมขังได้ง่าย ควรตรวจสภาพอาคารบ้านเรือนให้แข็งแรงคงทนจากลมแรง ไม่สวมใส่เครื่องประดับที่ทำจากโลกหะ ไม่ทำตัวโดดเด่นในที่โล่งแจ้ง
9
การหลีกเลี่ยงอันตรายจากฟ้าผ่า
ไม่อยู่ในที่โล่งแจ้งขณะฝนตกหนัก ไม่ถือสื่อนำไฟฟ้ากลางแจ้งที่มีฝนตกหนัก ที่อาการสูงมาก ๆ ควรต่อสายดิน
10
Thank you for your attention !
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.