ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNimnuan Sudham ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส 4120093 นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส 4120099
3
GIGABIT NETWORK Gigabit Speed and Today’s Protocol Gigabit Speed and Today’s Protocol Gigabit Speed and Today’s Protocol Fiber Obtic Fiber Obtic Fiber Obtic Gigabit network management Gigabit network management Gigabit network management Protocol for Gigabit networking Protocol for Gigabit networking Protocol for Gigabit networking Gigabit networking Testbeds Gigabit networking Testbeds Gigabit networking Testbeds
4
Gigabit Speed and Today’s Protocol TCP/IP และ OSI เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน การแทนที่ protocol เพื่อรองรับการส่ง ข้อมูลด้วยความเร็วในระดับ gitgabit ยัง ไม่ถึงเวลาอันควร Back
5
Fiber Obtic การพัฒนา gigabit network พัฒนา ควบคู่ไปกับการพัฒนาใน Fiber obtic สาย fiber และคุณสมบัติมีบทบาทสำคัญ ใน gigabit networking ความสามารถในการรับส่งข่าวสาร กำลังสูญเสียต่ำ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวน ได้ น้ำหนักเบา
6
Fiber Obtic( ต่อ ) คุณสมบัติของสาย fiber obtic ขนาดเล็ก มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูง กว่า มีความปลอดภัยต่อชีวิตและ ทรัพย์สิน Back
7
Gigabit Network Management เกิดอะไรขึ้นถ้า bandwidth มีขนาดกว้าง ขึ้น ? บริเวณที่จัดเตรียมเอาไว้สามารถ รับประกันการจัดการที่ซับซ้อนขึ้นได้ หรือไม่ ? Back
8
Protocol for Gigabit Networking(1) ได้มีการนำโพรโตคอลแบบเดิมมาใช้งาน ร่วมกันแต่ก็เกิดปัญหาขึ้นมากมาย โพรโตคอลแบบเก่าใช้หมายเลขลำดับขนาด 16 บิตหรือ 32 บิต เครื่องคอมพิวเตอร์มีเวลาน้อยลงสำหรับการ ประมวลผล โพรโตคอล ” go back n ” ซึ่งมีประสิทธิภาพการ ทำงานต่ำมากเมื่อนำมาใช้กับสายสื่อสารที่มี ค่า bandwidth-delay product สูงมาก
9
Protocol for Gigabit Networking(2) มีข้อจำกัดในการส่งอยู่ที่ระยะเวลารอคอย ไม่ใช่ขนาดความกว้างของช่องสื่อสาร เป็นผลพวงที่เกิดขึ้นจากโปรแกรมประยุกต์ที่ นำมาใช้ซึ่งมีปริมาณข้อมูลขนาดมหาศาล เช่นโปรแกรม multimedia ทั้งหลาย สำหรับการส่งข้อมูลความเร็วสูงมาก ออกแบบมาเพื่อความเร็วโดยไม่ได้เน้นว่า จะต้องให้ผลดีที่สุด
10
Protocol for Gigabit Networking(3) ออกแบบส่วนติดต่อเครือข่ายความเร็วสูงไว้ ในอุปกรณ์สื่อสารโดยตรง หลีกเลี่ยงการส่งข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) โครงสร้างของ Packet ข้อมูลส่วนหัวควรจะ เก็บข้อมูลไว้ให้น้อยที่สุดเพื่อลดเวลาการ ประมวลผล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลส่วนหัว และข้อมูลจริงจะต้องแยกออกจากกันเพื่อ เหตุผล 2 ประการ Click here Click here
11
Protocol for Gigabit Networking(4) การส่งข้อมูลขนาดใหญ่ยังเป็นการลดจำนวน กลุ่มข้อมูลให้มีน้อยลง การออกแบบโพรโตคอลจะมุ่งไปที่ ความสำเร็จของการส่งข้อมูล แนวโน้มปัจจุบันเน้นไปที่การลดความ ซับซ้อนของโพรโตคอล
12
เพื่อให้สามารถตรวจสอบความถูกต้องเฉพาะ ข้อมูลส่วนหัว ( ซึ่งจำเป็นจะต้องกระทำใน ระหว่างการรับ - ส่งข้อมูล ) โดยไม่ต้อง ตรวจสอบข้อมูลจริง เพื่อเป็นการยืนยันความถูกต้องก่อนที่จะ เริ่มทำการคัดลอกข้อมูลจริงไปยังโพรเซส ของผู้ใช้ ดังนั้นการแยกการตรวจสอบออกจากกันจึง เป็นสิ่งจำเป็นต้องทำ Return
13
Gigabit Network Testbeds การตรวจรักษาคนไข้จากระยะไกล (telemedicine) การประชุมผ่านระบบเครือข่าย (videoconferencing or virtual meeting
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.