ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
โดย ศรคม เงินศรี วิทยากรที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาการจัดการองค์กร
2
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
เป้าหมายการดำเนินการสหกรณ์ ปัญหาที่พบในการดำเนินการ สภาพแวดล้อมในการดำเนินการ กลยุทธ์พื้นฐานในการดำเนินการ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหาร ความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
3
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
การบริหารความเสี่ยง ความหมาย กระบวนการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง การติดตามประเมินผลและรายงานความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
4
เป้าหมายการดำเนินการสหกรณ์
เพื่อ 1. กำไรสูงสุด 2. สมาชิกสหกรณ์พึงพอใจ ภายใต้ อุดมการณ์และหลักการสหกรณ์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
5
ปัญหาที่พบในการดำเนินการ
เช่น สมาชิกขาดสภาพคล่องในการชำระหนี้ ต้นทุนในการจัดหาเงินทุนสูง แหล่งเงินทุนมีจำนวนจำกัด สมาชิกใช้เงินผิดวัตถุประสงค์การขอกู้ สมาชิกขาดความรู้ในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
6
สมาชิกใช้เงิน ผิดวัตถุประสงค์ การขอกู้
สมาชิกใช้เงิน ผิดวัตถุประสงค์ การขอกู้ สมาชิก ขาดสภาพคล่อง ในการชำระหนี้ สมาชิกมีภาระหนี้สิน มากเกินความสามารถในการชำระหนี้ ผลผลิตทางการเกษตร ไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย สมาชิก ขาดความรู้ ในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
7
SWOT ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายใน S ( + ) W ( - ) สภาพแวดล้อมภายนอก
Strenght = จุดแข็ง Weakness = จุดอ่อน Opportunity = โอกาส Threat = อุปสรรค สภาพแวดล้อมภายใน S ( + ) W ( - ) สภาพแวดล้อมภายนอก O ( + ) T ( - ) การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
8
สภาพแวดล้อมภายใน พิจารณาทรัพยากร 4 M’s Man = บุคลากร Money = การเงิน
Material = อุปกรณ์ Method = วิธีการ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
9
สภาพแวดล้อมภายนอก พิจารณา PEST Analysis และสิ่งแวดล้อม
Politics = การเมือง Economics = เศรษฐกิจ Social = สังคม Technology = เทคโนโลยี Environment = สิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
10
S W O T การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
11
กลยุทธ์ STP ประกอบด้วย S : Segmentation = การแบ่งส่วนตลาด
T : Targeting = การกำหนดตลาดเป้าหมาย P : Positioning = การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
12
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหารความเสี่ยง
1 . ลดผลกระทบในการดำเนินการเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของสหกรณ์ 2 . เพิ่มโอกาสในการระดมทุนจากสหกรณ์ นอกภาค และเพิ่มความมั่นใจให้กับ ผู้ลงทุน เนื่องจากการบริหารความเสี่ยง ส่งผลให้ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงลดลง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
13
ความหมาย ความเสี่ยง ( Risk ) คือ เหตุการณ์หรือ
การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบต่อการบรรลุ เป้าหมายของสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยง ( Risk Mangement ) คือ การระบุความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง โดยพิจารณาทั้งโอกาสในการเกิดและผลกระทบ และจัดการความเสี่ยงให้ลดลงด้วยแผนบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งติดตามและประเมินความเสี่ยง ได้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้สหกรณ์บรรลุเป้าหมาย การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
14
กระบวนการบริหารความเสี่ยง ( Risk Management Process )
1 กำหนดวัตถุประสงค์ 5 ติดตาม ประเมินผล และรายงานความเสี่ยง 3 ประเมินความเสี่ยง 2 ระบุความเสี่ยง 4 จัดการความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
15
1. การกำหนดวัตถุประสงค์
ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และทิศทางของ สหกรณ์ ควรใช้หลัก SMART (ชัด-วัด-ปฏิบัติ-สม-เวลา) Specific = ชัดเจน Measurable = วัดได้ Achievable = ปฏิบัติได้ Reasonable = สมเหตุสมผล Time Constrained = มีกรอบเวลา การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
16
2. การระบุความเสี่ยง โดยจำแนกประเภทความเสี่ยงตาม
ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง และระบุ ปัจจัยความเสี่ยงตามประเภทของ ความเสี่ยง ซึ่งปัจจัยความเสี่ยงเกิดได้ จากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
17
แผนที่ความเสี่ยง ( Risk Map ) ข้อ 1.1 ข้อ 2.1 ข้อ 3.1 ข้อ 4.1 ข้อ 5.1
ด้านกลยุทธ์ ข้อ 2.1 2 ด้านเครดิต ข้อ 3.1 3 ด้านตลาด ข้อ 4.1 4 ด้าน สภาพคล่อง ข้อ 5.1 5 ปฏิบัติการ แผนที่ความเสี่ยง ( Risk Map ) การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
18
3. การประเมินความเสี่ยง
ใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาโอกาสในการเกิดความเสี่ยง (Likelihood) โดยจัดระดับของการเกิดความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ และต่ำมาก แทนด้วยตัวเลข 5,4,3,2,1 ตามลำดับ 2. พิจารณาความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดจาก ความเสี่ยง (Impact) โดยจัดระดับความรุนแรงของ ผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ คือ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
19
ตัวอย่าง การจัดระดับโอกาสในการเกิดความเสี่ยง 5 สูงมาก
ความหมาย คำอธิบาย 5 สูงมาก 1 เดือนต่อครั้ง หรือมากกว่า 4 สูง มากกว่า 1 เดือน – 6 เดือนต่อครั้ง แต่ไม่เกิน 5 ครั้งต่อปี 3 ปานกลาง 1 ปี ต่อครั้ง 2 ต่ำ 2-3 ปีต่อครั้ง 1 ต่ำมาก 4 ปีต่อครั้ง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
20
ตัวอย่าง การจัดระดับผลกระทบด้านชื่อเสียงสหกรณ์ 5 สูงมาก 4 สูง 3
ความหมาย กรรมการ สหกรณ์ สมาชิก วงการ มวลชน ต่าง ประเทศ 5 สูงมาก 4 สูง 3 ปานกลาง 2 ต่ำ 1 ต่ำมาก การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
21
การจัดระดับความเสี่ยง
โดยพิจารณาผังจัดระดับความเสี่ยง ผลกระทบ (Impact) สูงมาก สูง ปานกลาง 3 ต่ำ ต่ำมาก 5 สูงมาก 4 สูง 3 ปานกลาง 2 ต่ำ 1 ต่ำมาก โอกาส (Likelihood) M L VL H VH การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
22
การจัดระดับความเสี่ยง
ความหมายระดับความเสี่ยง : VH = ระดับความเสี่ยงสูงมาก H = ระดับความเสี่ยงสูง M = ระดับความเสี่ยงปานกลาง L = ระดับความเสี่ยงต่ำ VL = ระดับความเสี่ยงต่ำมาก การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
23
4. การจัดการความเสี่ยง ดำเนินการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และจัดทำแผน
ปฏิบัติการรองรับความเสี่ยงสำหรับความเสี่ยงที่อยู่ใน ระดับ VH และ H ให้มีความเสี่ยงลดลงมาอยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง VH จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับความเสี่ยง H M กำหนดให้มีผู้ดูแลรับผิดชอบความเสี่ยง L กำหนดให้มีการควบคุมในกระบวนการปฏิบัติงาน VL การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
24
5. การติดตาม ประเมินผล และรายงานความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบควรติดตามผลทุก 6 เดือน และประเมินการตอบสนองความเสี่ยง เพื่อ ระบุระดับความเสี่ยง หลังการจัดการความเสี่ยง และกำหนดวิธีการตอบสนองความเสี่ยงอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ รวมทั้งรายงานผลการจัดการความ เสี่ยงต่อคณะกรรมการสหกรณ์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี พ.ค. 2551
25
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.