งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง
Case presentation โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง

2 ประวัติทั่วไป ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 45 ปี
ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 45 ปี วันที่รับปรึกษา1 กรกฎาคม 2551 วินิจฉัยโรค shoulder hand syndrome ข้อห้าม ข้อควรระวัง – ปัญหาที่ส่งปรึกษา pain management

3 Subjective examination
Present illness : ประมาณปี 2544 มีอาการอ่อนแรงขณะเดินไปเข้าห้องน้ำ แพทย์dx. Rt. Hemiparesis และได้รับกายภาพบำบัดมาจนถึงปี 2546 เริ่มเดินได้เอง ส่วนเรื่องอาการที่ข้อไหล่มีอาการปวดตั้งแต่ปี 2545 ผู้ป่วยมีอาการปวดไหล่ขวา ร่วมกับอาการบวมแดงและยกไม่ขึ้น

4 Chief complaint : ผู้ป่วยมีอาการปวดข้อไหล่ขวา แขนอ่อนแรง มีอาการปวดมากขึ้นเมื่อยกแขนและมีข้อติดเนื่องจากเมื่อมีอาการปวดผู้ป่วยจะไม่ขยับแขน อาการปวดมากขึ้นเมื่ออากาศเย็นและปวดแสบปวดร้อนเมื่ออากาศร้อน แพทย์จึงวินิจฉัยว่าเป็น shoulder pain จึงส่งปรึกษานักกายภาพบำบัดเพื่อลดปวดและเพิ่มองศาการเคลื่อนไหว

5 Past history : กินเหล้า สูบบุหรี่ เมื่อประมาณ 15 ปีที่แล้ว
ปฏิเสธโรคประจำตัว Medicine assessment : aspirin, neurontin, tramol, amitriptelin

6 Behavior of symptom Aggravating factor : pain in all direction of Rt. Shoulder joint Easing factor : prolong stretching Severity of symptoms : Rest = 8-9, Mvt.= 10 Irritability level : High 24 Hours pattern : กลางคืน > กลางวัน Functional limitation : limit in all direction of Rt. Shoulder

7 Objective examination
Observation and Inspection: abnormal posture, abnormal gait Active test: sh. Flexion 90o abduction 90o Passive test: Can’t examination because limit by pain Neurological test: Muscle power: Can’t examination because limit by pain

8 Objective examination (cont.)
Neurological test: sensation: impair Palpation: tenderness point at upper trapezius, rhomboid, deltoid m. at Rt.sh. Special test: - Adjacent joint: elbow: normal neck: limit ROM by pain

9 Pain and tenderness point Heat modalities Limit ROM TENS
Goal of treatment: relieve pain and improve ROM of Rt. Shoulder and ADL Problem summary Treatment Pain and tenderness point Heat modalities Limit ROM TENS Burning sensation ROM exs.as torerance Poor ADL ADL, hand function training

10 Progression note 8/7/51 S:ผู้ป่วยยังคงมีอาการปวดมาก เวลาขยับเคลื่อนไหวไหล่ขวา O:tenderness point at upper trapezius, rhomboideus,deltoid m. A:ผู้ป่วยยังคงมีอาการปวดเท่าๆเดิม ยังคงจุดกดเจ็บและการเคลื่อนไหวของข้อไหล่และคอลำบาก P:HP,US,TENS,traction 4.5kg(intermitant)

11 Progression note 31/7/51 S:pain scale 9/10 หลังรักษาเหลือ 6/10 ขยับแขนขวาได้บ้าง วันนี้ปวดมากจนขยับคอไม่ได้ O:tenderness point at upper trapezius,rhomboideus,deltoid posterior part A:ผู้ป่วยมีอาการปวดที่ลดลง ขยับแขนได้บ้างแต่ต้องเป็นผู้ป่วยทำเอง ยังคงมีอาการเคลื่อนไหวคอลำบาก P:HP,US,gentle mobilization,TENS,C-traction 4.5kg

12 Shoulder hand syndrome
คือกลุ่มหนึ่งของ reflex sympathetic dystrophy  ซึ่งเกิดจาก การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติที่ผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบวมที่ไหล่และมือ  มีการจำกัดการ เคลื่อนไหวของข้อนิ้ว metacarpophalangeal และข้อมือ และจะปวดมากเมื่อมีการขยับของข้อนิ้ว

13 Shoulder hand syndrome : Criteria
Pain and tenderness hyperalgesia mechanoallodynia signs of vasomotor instability (hyperhydrosis and decreased skin temperature) swelling of hand and shoulder sparing elbow after stroke

14 การรักษา การดูแลที่ดี คือการป้องกันไม่ให้เกิด โดยให้มีการเคลื่อนไหวของข้อนิ้วและข้อมือในช่วงที่ยังอ่อนแรง  และถ้าเกิดแล้ว ก็ต้องพยายามให้มีการเคลื่อนไหวของข้อให้มากที่สุดและอาจใช้ความร้อนมาช่วยลดอาการปวด   มิฉะนั้นจะทำให้การเคลื่อนไหวของมือไม่เต็มช่วงการเคลื่อนไหว

15 thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google